บทความแปล
Executive Functions

”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”

บทความแปล

เอกสารแปล และเรียบเรียง

หลากหลายชุดเอกสารความรู้เกี่ยวกับ EF จากนักวิชาการที่ถูกแปล และรวบรวมไว้เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป และประยุกต์ใช้สำหรับการพัฒนา EF ของนักเรียน และบุตรหลานต่อไป

สมองเด็กในภาวะสงคราม

สมองเด็กในภาวะสงคราม

สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive...

อ่านเพิ่มเติม
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน

กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน

กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง...

อ่านเพิ่มเติม
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน

การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน

การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ...

อ่านเพิ่มเติม
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF

ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF

ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาที่ยืนยันว่าการฝึกฝนเล่นดนตรีประเภทต่างๆ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง...

อ่านเพิ่มเติม
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ

พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ

พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3...

อ่านเพิ่มเติม
ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ

ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ

ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ ทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ของสมองส่วนหน้า ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญที่สุดต่อความสำเร็จในการเรียนหนังสือและการทำงาน มิตรภาพ การแต่งงาน คุณภาพของชีวิต มีสุขภาพที่ดีและมีจิตใจที่เป็นสุข ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า...

อ่านเพิ่มเติม
พัฒนาความสามารถ ในการคิดยืดหยุ่นของเด็ก

พัฒนาความสามารถ ในการคิดยืดหยุ่นของเด็ก

พัฒนาความสามารถ ในการคิดยืดหยุ่นของเด็ก ทักษะยืดหยุ่น (Cognitive Flexibility/ Shifting) เป็นทักษะพื้นฐานของทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) ซึ่งเป็นทักษะกระบวนการคิดชั้นสูงในสมองของมนุษย์ เป็นความสามารถในการเปลี่ยนมุมมอง เช่น...

อ่านเพิ่มเติม
วิธีพัฒนา “ความจำเพื่อใช้งาน” ให้เด็กของเรา

วิธีพัฒนา “ความจำเพื่อใช้งาน” ให้เด็กของเรา

วิธีพัฒนา “ความจำเพื่อใช้งาน” ให้เด็กของเรา ความจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) เป็นความสามารถในการจดจำข้อมูลทั้งในระยะสั้น และรวมถึงการเก็บข้อมูลไว้ในความทรงจำระยะยาว เป็นความสามารถที่เด็กจำเป็นต้องมี...

อ่านเพิ่มเติม
หลากหลายวิธี ฝึก EF ที่บ้านได้

หลากหลายวิธี ฝึก EF ที่บ้านได้

หลากหลายวิธี ฝึก EF ที่บ้านได้ หากในชีวิตประจำวันเรากำลัง           ...ตั้งใจเรียนหรือทำงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้เสร็จสำเร็จลง แม้ว่าเรื่องนั้นน่าเบื่อมาก          ...

อ่านเพิ่มเติม
EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ

EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ

EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) พื้นฐานที่สำคัญยิ่งทักษะหนึ่งคือ ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) อันเป็นความสามารถในการหยุดหรือยั้งความคิด ความสามารถนี้เกิดขึ้นและพัฒนาตั้งแต่ช่วงแรกเกิดของชีวิต...

อ่านเพิ่มเติม
เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง

เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง

เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ทักษะการทำงานของทักษะสมองส่วนหน้าเริ่มต้นพัฒนาอย่างชัดเจนในวัยอนุบาล ซึ่งเป็นเด็กก่อนวัยเรียน การเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลถือเป็นประสบการณ์ครั้งแรก ที่เด็กได้พบกับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นทางการ...

อ่านเพิ่มเติม
การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF

การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF

การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Functions : EF) เป็นกระบวนการทำงานขั้นสูงของสมองบริเวณหลังหน้าผาก ทำหน้าที่เชิงบริหารจัดการกำกับอารมณ์ ความคิดและการกระทำ ทำให้มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม...

อ่านเพิ่มเติม

" เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน "สมองของเด็ก" และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร "

Andrew S. Garner