Best Practices
Executive Functions
”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”
Best Practice : การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา
การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา
นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร
โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564...
นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย จ.เพชรบุรี
ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย...
นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย
ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG...
นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา
ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม แล้วเห็นว่า EF...
นายจรูญ น้อยสำราญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด
โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน แล้วได้เห็นว่า EF...
นางพิฐชญาณ์ ไพรดำ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลพบุรี
ศน.พิฐชญาณ์ได้เข้าร่วมอบรม EF กับสถาบัน RLG เมื่อ 26 -28 พฤศจิกายน 2561 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ รู้สึกว่าเป็นความรู้ใหม่ที่น่าสนใจ จนตั้งเป้าไว้ว่าจะต้องทำให้ครูมีการพัฒนา EF ให้เด็กเป็นเป้าหมาย และ ครูต้องออกแบบการเรียนการสอนให้เอื้อต่อการพัฒนา EF มากที่สุด...
นายประชารัฐ โนนทนวงษ์ รองผู้อำนวยการ โรงเรียนอนุบาลสาธิตเทศบาลนครขอนแก่น
โรงเรียนอนุบาลสาธิตเทศบาลนครขอนแก่นได้รับนโยบายทางการศึกษาให้เป็นคลัสเตอร์ทางวิชาการ คณะครู ผู้อำนวยการประชุมร่วมกันแล้วเห็นว่าเรื่อง EF เหมาะสมที่จะเป็นองค์ความรู้ในการพัฒนาเด็ก โดยการนำเสนอของอาจารย์ประชารัฐ ซึ่งส่วนตัวมีความประทับใจกับเรื่อง EF...
นายปรีชา ไกรคะนะ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโสน และผู้อำนวยการรักษาการณ์ โรงเรียนบ้านน้ำคลุ้ง จ.กาญจนบุรี
เดิม ผอ.ปรีชามีความสนใจเรื่องการพัฒนาสมองเด็กและแนวการพัฒนาเด็กมอนเตสซอรี่ เมื่อได้พบข้อมูลเกี่ยวกับ EF ในอินเทอร์เน็ต ก็รู้สึกตรงกับความสนใจ ดูจะสอดคล้องและสามารถบูรณาการกับแนวทางมอเตสซอรี่ได้ แต่ยังไม่ได้ศึกษาอย่างจริงจัง...
นางอัจจชิญา สงวนศรีพิสุทธิ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สธจ. ขอนแก่น
ในขณะที่ศน.กฤษณา เป็นผู้นำศธจ.ในการขับเคลื่อน EF จังหวัดขอนแก่น ศน.อัจจชิญา ก็ร่วมทีมสนับสนุน เข้ารับการอบรม EF และเรียนรู้จากเครือข่าย EF ขอนแก่นออนไลน์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้พัฒนาไปด้วยกัน แล้วร่วมทีมศธจ.ขับเคลื่อนความรู้ EF สู่ครูและโรงเรียนในพื้นที่ที่รับผิดชอบ...
นางสาววิริยา บาลตำบล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป.สกลนคร เขต 3
สืบเนื่องจากคู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)ส่งมาให้กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษาแจกตามโรงเรียนและศน.วิริยาร่วมดำเนินการแจกด้วย ทำให้ศน.วิริยาเกิดความสนใจเรื่อง EF...
นางสุภัคร พุทธานุ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป. สุรินทร์ เขต 2
เมื่อได้รับการอบรมความรู้เรื่อง EF แล้วศน.สุภัคร พุทธานุ ในฐานะผู้ดูแลรับผิดชอบเรื่องการศึกษาปฐมวัย เห็นว่าความรู้ EF เป็นแนวทางที่สอดรับกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยมากที่สุด และยังสอดคล้องเข้ากับแนวนโยบายหลักจากกระทรวงฯ รวมถึงหลักสูตรปฐมวัย และหลักสูตรฐานสมรรถนะ...
นางบุปผา บุญพูล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สพป.กาญจนบุรี เขต 4
ศน.บุปผารู้จักเรื่อง EF จากการเข้าอบรมเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด ที่ศธจ.จัดร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ต่อมาเข้าอบรมเรื่อง EF ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีจัดอบรมให้ครูปฐมวัยของโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา แล้วเห็นว่ามีประโยชน์กับเด็กและโรงเรียนอย่างมาก...
" เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน "สมองของเด็ก" และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร "