โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 20, 2021 | สาระ EF
ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โลกผันผวนเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีโรคระบาดเช่นโควิด19 มีภัยพิบัติต่างๆ เราต้องสร้างเด็กที่มีความอดทนสูง ปรับตัวได้ไว ล้มแล้วลุกขึ้นมาเองได้เร็ว โดยไม่ต้องรอให้ใครมาช่วยดึงขึ้น...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 20, 2021 | สาระ EF
การจะทำให้เด็กเปิดใจเปิดประตูสู่การเรียนรู้อย่างแท้จริงได้นั้น อันดับแรกครูต้องตระหนักว่าเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เด็กแต่ละคน มีความสามารถในการมีสมาธิ (Attention Span) ไม่เท่ากันความสามารถที่จะจดจ่อกับเรื่องใดๆ นั้น เป็นพัฒนาการของสมอง หมายความว่า...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 19, 2021 | สาระ EF
ครูนับเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพของประเทศ จะเรียกว่ามีบทบาทหน้าที่ “สร้างชาติ”ก็ว่าได้ ปัจจุบันพบว่าครูมีทั้งส่วนที่ปรับเปลี่ยนพัฒนาบทบาทตนเอง และมีส่วนที่ยังไม่ปรับเปลี่ยนบทบาท...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 19, 2021 | สาระ EF
พัฒนาการทางสมองของคนเรามีอยู่ 2 แบบ คือ Experience-Expectant Development เป็นพัฒนาการทางสมองที่คาดหวังได้ในสิ่งมีชีวิต เช่น เราคาดหวังได้ว่าคนๆ หนึ่งนั้น จะคืบ คลาน นั่ง ยืน เดิน วิ่งได้เมื่ออายุเท่านั้นเท่านี้ หรือถ้าเป็นหนูจะต้องซน เพราะเป็นพันธุกรรม...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 16, 2021 | สาระ EF
นักการศึกษาเชื่อว่า การเริ่มต้นเรียนรู้ใดๆ ก็ตามในเด็กวัย สัมพันธภาพ หรือ relationship ระหว่างผู้สอนกับเด็ก ควรเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงมากที่สุดเป็นอันดับแรก ไม่ใช่เฉพาะการสอนเด็กพิเศษเท่านั้นที่ต้องสร้าง relationship ก่อน relationship เป็นกุญแจ...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 16, 2021 | สาระ EF
2 ทศวรรษที่ผ่านมา งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ด้านสมองต่างยอมรับกันมากขึ้นเรื่อยๆ ว่า “การเสพติดเป็นโรคของสมอง” ที่นำไปสู่แนวทางใหม่ในการป้องกัน การบำบัด และการวางนโยบายสุขภาพด้านยาเสพติดของสังคม แต่ก็ยังมีหลายคำถามค้างคาใจกันอยู่...
โดย ทอฝัน อร่ามฤทธิ์ | เม.ย. 15, 2021 | บทความ, สาระ EF
นักวิจัยหลายกลุ่มทั้งในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ได้ให้ความสนใจในเรื่องของการพูดสองภาษาว่ามีผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF อย่างไรบ้าง คำว่าสองภาษาในที่นี้ ไม่ได้หมายถึงแค่ภาษาในประเทศกับภาษาต่างประเทศเท่านั้น...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 15, 2021 | บทความ
คนที่ประยุกต์ใช้เรื่อง EF ในการพัฒนาเด็กหรือการศึกษา ควรได้มองความเชื่อมโยงเข้าสู่ growth mindset ซึ่งเป็นความเชื่อหรือสมมติฐาน (assumption) ซึ่งใช้ได้กับทุกเรื่องไม่ว่าเรื่องใด ตัวมนุษย์เองก็ตาม ปัญหาการศึกษาที่เราเผชิญความยากลำบากอยู่ก็ตาม...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 13, 2021 | สาระ EF
สถานการณ์โควิด 19 ทำให้ทุกคนต้องรักษาระยะห่างทางร่างกาย ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากยิ่งทั้งสำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และตัวเด็กเอง ที่จะให้เด็กรักษาความสัมพันธ์กับคนอื่นๆ การที่เด็กไม่สามารถเล่นหรือสัมพันธ์กับเพื่อนๆ อาจส่งผลเสียต่อสุขภาวะทางอารมณ์ของเด็ก...
โดย กองบรรณาธิการ | เม.ย. 13, 2021 | สาระ EF
แม้ว่าในสถานการณ์โควิดที่มีมาตรการรักษาระยะห่าง จะทำให้บรรยากาศการเรียนการสอนเปลี่ยนไป มีการสื่อสารและการเรียนการสอนผ่านทางออนไลน์มากขึ้น การสัมผัสร่างกายระหว่างครูกับเด็กน้อยลง แต่ไม่ได้หมายความว่า ครูจะลดบทบาทในการใส่ใจใกล้ชิดเด็กลง ...