โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
พฤติกรรมไม่ดี เด็กดื้อ เกิดจากอะไร ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงกระบวนการทำงานร่วมกันของสมอง จิตใจ และพฤติกรรมมนุษย์ จะเห็นว่าก่อนที่เด็กคนหนึ่งจะแสดงพฤติกรรมอะไรออกมา มีเรื่องของจิตใจ (Mind) เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ คือเด็กต้องรู้สึกอะไรบางอย่างก่อนจะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
การใช้อำนาจในห้องเรียนกระทบ Self และการเรียนรู้ของเด็ก เมื่อเด็กรู้สึกปลอดภัย อารมณ์สงบ เด็กจะเรียนรู้ได้ดี พัฒนาการดี แต่การจะทำให้ห้องเรียนปลอดภัย ส่วนใหญ่ทำกันเพียงทางด้านกายภาพเท่านั้น เด็กยังไม่รู้สึก “อบอุ่นปลอดภัย” เพราะครูยังใช้อำนาจ ใช้อารมณ์ มากกว่าให้โอกาส...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
สอนเด็กรู้จักอารมณ์ตัวเอง สร้าง Self และทักษะสังคม การที่ผู้ใหญ่สะท้อนอารมณ์ของเด็ก บอกให้เด็กรู้ว่าตัวเด็กกำลังรู้สึกอย่างไร จะทำให้เด็กรู้สึกมี Self มีตัวตน เพราะความรู้สึกนึกคิดและสิ่งที่เขาแสดงออกมานั้น ผู้ใหญ่เห็น ได้ยิน ให้ความสนใจ...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
เด็กแบเบาะก็เรียนรู้จักอารมณ์ได้ อย่าละเลยที่จะสอนเด็กเล็กๆ ให้รู้จักอารมณ์ ทักษะอารมณ์เป็นทักษะที่สำคัญและเป็นพื้นฐานของทักษะสังคม ส่งผลซึ่งกันและกัน แต่ผู้ใหญ่มักมองข้ามและไม่ได้ส่งเสริมเด็ก เพราะเข้าใจว่าจะเกิดขึ้นเองเมื่อเด็กโตขึ้น ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
วินัยเชิงบวกดีกว่าการสั่งบังคับอย่างไร อธิบายได้ด้วย Neuroscience พ่อแม่หรือครูแค่รู้วิธีการใช้วินัยเชิงบวกอย่างเดียวไม่พอ แต่ต้องเข้าใจไปถึงเรื่องพัฒนาการของเด็ก การทำงานของสมองในแต่ละช่วงวัย เช่น พัฒนาการของเด็กตอนนั้น ภาวะจิตใจอยู่ในขั้นตอนใด...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
เทคนิค “วินัยเชิงบวก” ฝึกเด็กให้มีวินัยด้วยตัวเอง ในอดีตมีการฝึกวินัยให้กับเด็กด้วยความปรารถนาดี เพื่อให้อยู่ในกติกา อยู่ในสังคมได้ และได้ผล โดยการให้รางวัลหรือลงโทษ เช่น ให้รางวัลด้วยขนม แต้ม หรือดาว และลงโทษถ้าไม่มีวินัยด้วยวิธีการ Time out สำหรับการให้รางวัล...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
“ตีเด็ก” การฝึกวินัยที่ไร้ผล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้เชี่ยวชาญการพัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยเทคนิควินัยเชิงบวน กล่าวว่า การลงโทษด้วยการตี การดุด่าว่ากล่าว บังคับ ใช้อำนาจ เป็นวิถีการเลี้ยงดูเด็กที่ฝังรากลึกในสังคมไทยกันมาช้านาน...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล
พัฒนาสมรรถนะที่โลกในอนาคตข้างหน้าต้องการ ด้วย “จุดแข็ง” ที่มีอยู่ โลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งทอดยาวอยู่ข้างหน้าเป็นศตวรรษของเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำ เป็นยุคที่ข่าวสารความรู้ล้นทะลัก มีการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดของผู้คนในทุกมิติทางสังคม เศรษฐานะ วัฒนธรรม รสนิยม...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล
การเลี้ยงดูบนฐานการส่งเสริมและพัฒนา “จุดแข็ง” กับความเครียดของเด็ก ความเครียดเป็นปฏิกิริยาของสิ่งมีชีวิต ที่แสดงพฤติกรรมต่อสิ่งเร้าที่คุกคามความอยู่ดีมีสุขเป็นปกติ ความเครียดมักเกิดจากความต้องการกับทรัพยากรที่มีอยู่ไม่สมดุลกัน คนที่เครียดนั้นเกิดจากความรับรู้ว่า...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล
เป็น “โค้ช” ที่ยอดเยี่ยมของลูก! ไม่ยากเลย “จุดแข็ง” ตามหลักจิตวิทยา หมายถึง ความสามารถที่แสดงถึงประสิทธิภาพที่สามารถสังเกตได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ จุดแข็งทางความสามารถหรือที่เรียกกันว่า พรสวรรค์ และ จุดแข็งด้านลักษณะนิสัยที่แสดงออกมาเป็นบุคลิกภาพ...