การพัฒนา “จุดแข็ง”ในลูกวัยรุ่น

การพัฒนา “จุดแข็ง”ในลูกวัยรุ่น

การพัฒนา “จุดแข็ง”ในลูกวัยรุ่น ความรู้ทางประสาทวิทยาทำให้เรารู้ว่า สมองของวัยรุ่นนั้นมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างไปอย่างมากจากตอนที่เป็นเด็ก นักวิทยาศาสตร์พบว่าสมองของวัยรุ่นนั้น มีการตัดแต่ง (Pruning) ด้วยตัวเองตามธรรมชาติ ในช่วงอายุราว 9-15  ปีโดยประมาณ...
จะสอนเด็กให้รู้เรื่อง “จุดแข็ง” ของตนเอย่างไร

จะสอนเด็กให้รู้เรื่อง “จุดแข็ง” ของตนเอย่างไร

จะสอนเด็กให้รู้เรื่อง “จุดแข็ง” ของตนเอย่างไร เด็กทุกคนที่เกิดมามี “จุดแข็ง” อันหมายถึงความสามารถหรือคุณลักษณะโดดเด่นเฉพาะตน อีกทั้งมีสิ่งท้าทายที่ต้องเผชิญและฝ่าข้ามไปในการพัฒนาตนเองสู่ความสำเร็จและชีวิตที่ดีกว่า การช่วยให้ลูกๆ หรือเด็กที่ดูแลอยู่ให้รู้ว่าตนมี “ดี”...
ครู โรงเรียน กับ การเห็นคุณค่าในตนเองของเด็ก

ครู โรงเรียน กับ การเห็นคุณค่าในตนเองของเด็ก

เด็กบางคนโชคร้ายไม่ได้รับโอกาสพัฒนา Self-Esteem จากพ่อแม่ในช่วงวัยเริ่มต้นของชีวิต ก็อาจมีโอกาสครั้งที่สองที่โรงเรียน นี่คือหลักการทั่วไปที่ควรคาดหวังได้  แต่ถ้าครูไม่เข้าใจเรื่องนี้ ก็อาจเป็นโชคร้ายที่ซ้ำสองของเด็กคนนั้น !!?? งานวิจัยมากมายยืนยันว่า...
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ Self-Esteem

ปัจจัยที่ส่งผลต่อ Self-Esteem

ปัจจัยที่เชื่อกันว่า ส่งผลให้คนเรามี Self-Esteem สูงหรือต่ำนั้นมีหลากหลายอย่างไม่น่าเชื่อ ว่ากันตั้งแต่กรรมพันธุ์; พ่อแม่เป็นคนที่มี Self-Esteem เป็นอย่างไร อาจถ่ายทอดต่อให้ลูกได้ อายุ; เด็กที่อายุน้อยกว่าเพื่อนในห้องมากๆ จนทำอะไรไม่ทันเพื่อน...
พ่อแม่คือคนสร้าง Self-Esteem ให้เด็ก

พ่อแม่คือคนสร้าง Self-Esteem ให้เด็ก

วัฒนธรรมไทยดั้งเดิมเราอาจจะไม่คุ้นนักกับ Self-Esteem หรือการเห็นคุณค่าในตนเอง เพราะเรามักจะ “กลัวเด็กเหลิง” เข้าใจไปว่าถ้าเด็กเห็นคุณค่าในตนเองมาก จะหยิ่งยะโส ผู้ใหญ่ก็จะเอาไม่อยู่ กำกับควบคุมไม่ได้  หรือเด็กจะตัวตนสูงจนอยู่กับคนอื่นยาก  ความเข้าใจนี้ผิดมหันต์...
หา “จุดแข็ง”ของลูกให้เจอ แล้วลงมือพัฒนา

หา “จุดแข็ง”ของลูกให้เจอ แล้วลงมือพัฒนา

หา “จุดแข็ง”ของลูกให้เจอ แล้วลงมือพัฒนา เด็กคนหนึ่ง อาจจะเติบโตขึ้นไปเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียง เป็นครูที่ยอดเยี่ยม เป็นวิศกรที่เก่งกาจ หรือเป็นนักเล่นตลกที่เป็นขวัญใจคนทั้งประเทศ หรือเป็นใครก็ได้ที่มีความสุขกับการทำงานที่ตนถนัด ประสบความสำเร็จในสิ่งที่ตนเลือก...
เมื่อลูก “ยัง” ทำไม่ได้

เมื่อลูก “ยัง” ทำไม่ได้

เมื่อลูก “ยัง” ทำไม่ได้ จากวิวัฒนาการที่ผ่านมานับแสนๆ ปี ธรรมชาติของสมองมนุษย์มักจะพุ่งความสนใจไปที่ข้อบกพร่อง และด้านลบของสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิต จากพื้นฐานหน้าที่หลักของสมองที่ทำงานเพื่อให้มีชีวิตอยู่ให้รอดปลอดภัยเป็นพื้นฐาน...
สมองต้องการ การชื่นชม (แบบไหน)

สมองต้องการ การชื่นชม (แบบไหน)

สมองต้องการ การชื่นชม (แบบไหน) ในสมัยรุ่นปู่ย่าตายาย หรือแม้แต่รุ่นของพ่อแม่ที่มีอายุสักหน่อย อาจจะมีประสบการณ์ที่พ่อแม่หรือผู้ใหญ่มักไม่มีคำชมเชย หรือให้กำลังใจในยามที่ทำอะไรได้ดี หรือประสบความสำเร็จ เพราะกลัวเหลิง ด้วยความคิดว่า ความดีเป็นเรื่องปกติที่ต้องทำอยู่แล้ว...
ฝึกสมองให้แข็งแรงได้เหมือนฝึกกล้ามเนื้อ

ฝึกสมองให้แข็งแรงได้เหมือนฝึกกล้ามเนื้อ

ฝึกสมองให้แข็งแรงได้เหมือนฝึกกล้ามเนื้อ สมองสามารถฝึกฝนให้แข็งแกร่งได้ เช่นเดียวกับการออกกำลังกายเป็นการฝึกฝนให้กล้ามเนื้อแข็งแรง การฝึกฝนเล็กน้อยอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ สามารถทำให้วงจรประสาทในเรื่องนั้นๆ ภายในสมองของเราแข็งแรงขึ้นมาได้ ในปี พ.ศ. 2549 M. Oaten และ K....
สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม “จุดแข็ง” ของลูก

สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม “จุดแข็ง” ของลูก

สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม “จุดแข็ง” ของลูก เด็กทุกคนมีพัฒนาการที่สังเกตเห็นได้ เมื่อเด็กมีอายุราว 2-3 ขวบ พ่อแม่ผู้ปกครองและครู จะเริ่มมองเห็นว่าเด็กแต่ละคนมีจุดเด่น หรือมี “จุดแข็ง” เฉพาะตัวในเรื่องใดบ้าง เช่น เป็นเด็กที่จับจังหวะได้ดี ร้องเพลงถูกทำนอง ชอบตัวเลข...