โดย ปัณนธร นันทิประภา | เม.ย. 1, 2022 | บทความแปล
Benjamin Bloom นักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นผู้นำเสนอทฤษฎีการเรียนรู้ที่รู้จักกันในชื่อ Bloom’s Taxonomy ได้จัดอันดับ “ความคิดสร้างสรรค์” ให้เป็นทักษะขั้นสูงสุดของการเรียนรู้ เพราะบุคคลต้องใช้ทักษะความรู้ความเข้าใจอื่นๆ ตั้งแต่ขั้นต้น เริ่มจาก 1)...
โดย ปัณนธร นันทิประภา | เม.ย. 1, 2022 | บทความแปล
ครูใหญ่คือคนสำคัญ เมื่อคิดถึงการศึกษา ภาพที่เกิดขึ้นในหัวของเราก็มักจะเห็นภาพนักเรียนสวมชุดเครื่องแบบเป็นระเบียบเรียบร้อย เห็นภาพครูในชั้นเรียนยืนอยู่หน้าห้อง แล้วก็อาคารเรียนหลังมหึมา แต่ในความเป็นจริง การศึกษาไม่ได้เกี่ยวกับโรงเรียน ครู และนักเรียนเท่านั้น...
โดย ปัณนธร นันทิประภา | เม.ย. 1, 2022 | บทความแปล
ทุกวันนี้โรงเรียนทั่วไปในประเทศไทยถูกกำหนดให้สอนหลักสูตรที่ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระวิชา ตั้งแต่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษา และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เรียกว่าการเรียนทั้งหมดนี้...
โดย ปัณนธร นันทิประภา | เม.ย. 1, 2022 | บทความแปล
ผลจากการไม่ลงตัวกับการเรียนในระบบโรงเรียนที่พบเห็นกันได้ทั่วไปในปัจจุบัน นักเรียนได้เรียนในสิ่งที่ไม่ชอบ สิ่งที่ชอบกลับไม่ได้เรียน ก็อาจจะส่งผลต่อเด็กต่อเนื่องไปหลายอย่าง บางคนถึงขั้นรู้สึกเสียตัวตน ไม่เห็นคุณค่าในตนเอง เชื่อว่าตัวเองไม่เอาไหน เรียนไม่ได้...
โดย ปัณนธร นันทิประภา | เม.ย. 1, 2022 | บทความแปล
เป็นธรรมชาติของเด็กที่ชอบการเรียนรู้ แต่ทําไมเด็กหลายคนจึงกลัวการไปโรงเรียน? เซอร์เคน โรบินสัน นักการศึกษาชื่อดังระดับโลก ชวนให้เราคิดย้อนกลับไปยังช่วงเริ่มต้นของการเข้าสู่ระบบการศึกษา เขาบอกว่า โรงเรียนไม่เคยเป็นพื้นที่สร้างสรรค์...
โดย กองบรรณาธิการ | มี.ค. 30, 2022 | News
สรุปความรู้พร้อมใช้ในรุปแบบของ Mind Map จากงาน “ความรู้พร้อมใช้จากเวทีวิจัย EF พ.ศ. 2561-2565” ระหว่างวันที่ 7-8 เมษายน 2565 ที่ทุกท่านรอคอย สามารถ คลิกขวาที่ภาพ และ บันทึกไฟล์ หรือสามารถดาวน์โหลดไฟล์ pdf...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
ตระหนักในกฎแห่งการเรียนรู้ของสมอง ทันทีที่เด็กเกิดมา สิ่งที่เกิดขึ้นมาแรกสุกคือการพัฒนาระบบประสาทที่เกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหว การมองเห็น และการได้ยินเสียง ทั้งนี้ทารกแรกเกิดจนถึงอายุหนึ่งขวบนั้นมีจำนวนเซลล์สมอง (Neurons)...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
สามเสาหลัก : การเปลี่ยนผ่านของสมองส่วนอารมณ์สู่เหตุผล Howard Bath นักจิตวิทยาคลีนิกชาวออสเตรเลีย ผู้เขียนหนังสือร่วมกับ John Seita เรื่อง ‘The Three Pillars of Transforming Care: Trauma and resilience in the other 23 hours’ (2018).ได้อธิบายว่า ...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
อะไรทำให้เราเป็น “ตัวเรา” ในทุกวันนี้ “เราเป็นคนอย่างที่เราเป็นเพราะสิ่งที่เราเรียนรู้และสิ่งที่เราจดจำได้” – We are who we are because of what we learn and what we remember. เป็นคำกล่าวของอีริค อาร์ เคนเดล (Eric R. Kandel)...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
ความรู้เรื่องสมอง 3 ส่วน ในระยะหลัง การศึกษาค้นคว้าที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้เราเห็นวิวัฒนาการของสมอง ซึ่งทำให้เข้าใจกลไกการเกิดพฤติกรรม การเรียนรู้ สติปัญญา การตัดสินใจ และทักษะการบริหารชีวิตของมนุษย์ลึกซึ้งขึ้น โดย พอล ดี. แมคลีน Paul D. Maclean (1913-2007)...