Page 26 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 26

EF  คือสันดานดีที่สร้างสรรค์                                                                                                ลักษณะของบุคลิกภาพเมื่อ EF อ่อนแอ  5



                                    พูดได้ว่า ช่วงเวลา 3-6 ปีนี้มีความส�าคัญมากต่อการฝึกฝนทักษะด้าน EF

                                  เรียกว่า เป็นช่วงเวลาทอง หรือ เป็นหน้าต่างแห่งโอกาส ( window of opportunity)
                                  ของการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่ายิ่งทั้งต่อครอบครัวและสังคม เป็นการลงทุน                                     ขาดวิจารณญาณ           ก�ากับควบคุม

                                  ที่คุ้มค่ายิ่งกว่าลงทุนในวัยอื่นใด และหากไม่ได้ลงทุนพัฒนาตั้งแต่ปฐมวัย แล้วจะมา                                   ยับยั้งชั่งใจไม่ได้    ตนเองไม่ได้       ขาดการริเริ่ม
                                  ตามแก้ไขปัญหาในภายหลังก็ต้องใช้ทรัพยากรมากกว่า ทั้งเวลา เงินทุน แรงกาย-ใจ                                       “เสพติด” สิ่งต่างๆ                       และลงมือท�างาน

                                  ยิ่งกว่าการพัฒนาให้ดีเสียตั้งแต่ต้น (ลองนึกภาพการแก้ปัญหา เช่นเด็กติดยา ติดเกม                                        ได้ง่าย                                ให้ส�าเร็จ
                                  เด็กที่อารมณ์ร้าย ฯลฯ พ่อแม่ ครอบครัว ครู สังคม ต้องใช้ทรัพยากร เงิน พลังกาย-ใจ                                                                                        ขาดความมุ่งมั่น

                                  ฯลฯ มากเพียงใดจึงจะแก้ปัญหาได้ ...หรือบางกรณีอาจจะแก้ไม่ได้เลยก็ได้ ??)                                                                                                ท�างานให้ส�าเร็จ
                                                                                                                                            ขาดความสามารถ
                                    ส�าหรับในช่วงวัยประถมศึกษา แม้ว่าอัตราการพัฒนาของ EF จะไม่พุ่งพรวดเท่ากับ                              ในการคิด คาดการณ์                                            โดยเฉพาะงานที่ใช้

                                  ในช่วงปฐมวัย แต่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ก็ยืนยันว่า การพัฒนา EF ของเด็กประถม                                   ไปข้างหน้า                                                 เวลายาวนาน
                                  ยังด�าเนินต่อไปอย่างต่อเนื่อง (ซึ่งจะไปเร่งเครื่องเต็มที่อีกครั้งในช่วงวัยรุ่น)

                                    ดังนั้นในช่วงวัยประถมศึกษา เด็กจึงต้องได้รับโอกาสพัฒนา EF อย่างจริงจัง
                                  ต่อไป                                                                                                      ขาดความสามารถ                                                 ไม่สามารถ

                                                                                                                                             ในการจัดระบบ และ                                             จัดการกับเวลา
                                                                                                                                               จัดการสิ่งต่างๆ
                                  ถ้า EF อ่อนแอ ...เมื่อโตขึ้นจะเป็นอย่างไร                                                                    อย่างเหมาะสม        ไม่สามารถจัดการ      ขาดการวางแผน

                                                                                                                                                                    กับความเครียด          โครงการ

                                    เด็กที่ไม่ได้รับการส่งเสริม EF ในวัยเด็กมาอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลทั้งใน                                                             อารมณ์             ในระยะยาว
                                  “วงกว้าง” และ “ระยะยาว”

                                    “วงกว้าง” คือกระทบไปหลายด้าน เช่น ด้านร่างกาย เด็กที่ยั้งกินไม่ได้อาจโตขึ้น
                                  เป็นโรคอ้วน เบาหวาน ไขมันสูง ด้านจิตใจอาจเป็นคนที่ควบคุมอารมณ์ไม่อยู่ อ่อนแอ

                                  หรือก้าวร้าว ด้านสังคมอาจร่วมงานกับคนอื่นได้ยาก ท�างานไม่สัมฤทธิ์ผล หรือ                                                           เราเคยพบเจอคนแบบนี้บ้างไหม
                                  ด้านสติปัญญาก็อาจขาดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา เป็นต้น

                                    ส่วนผลกระทบใน “ระยะยาว” นั้น ก็คือผลเสียจะเกิดขึ้นทั้งในวัยเด็ก และ
                                  ต่อเนื่องไปจนถึงวัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ หรือแม้แต่ในวัยกลางคน หรือสูงอายุได้







            26                                                                                                                                                                                                                    27
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31