Page 30 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 30

สถาบัน RLG (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) จัดการความรู้และสรุปว่า แนวทางส�าคัญ                     4) การได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะเน้นที่การได้

                                     ที่ผู้ใหญ่ทุกคนสามารถสร้างให้แก่เด็กได้  คือ                                                      ลงมือท�าด้วยตนเอง หรือ การเข้าไปมีประสบการณ์ตรงกับสิ่งรอบตัว ส�าหรับ
                                                                     6,7
                                                                                                                                       เด็กประถม การเล่นก็ยังเป็นสิ่งส�าคัญ เพราะการเล่นคือการเรียนรู้แบบ
                                       1) การสร้างความผูกพันและไว้วางใจให้เกิดขึ้นในใจเด็ก เป็นพื้นฐานแรก                              active learning ของเด็ก การเรียนรู้ด้วยประสบการณ์จริงจะท�าให้เด็ก
                                         ที่ส�าคัญที่สุด เพราะถ้าเด็กไว้วางใจได้ว่าเขาเป็นที่รัก หรือเขาจะปลอดภัย                      มีโอกาสได้ฝึกคิดด้วยตนเอง ฝึกสังเกต ได้คิดค้น วางแผน และทดลอง

                                         ในความดูแลของผู้ใหญ่คนนี้ ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ ผู้ปกครอง หรือครู ผู้ใหญ่                       หรือลงมือท�า ระหว่างท�า ก็ได้เห็นอุปสรรคปัญหาแล้วหาทางแก้ไขและ

                                         เหล่านี้ฟังเขา ให้โอกาสเขา หรือมีความเสมอต้นเสมอปลายกับเขา ก็จะท�าให้                         สรุปบทเรียนได้ด้วยตนเอง
                                         เขามีสภาวะที่พร้อมต่อการพัฒนา EF และฝึกฝนเรียนรู้ เมื่อใดที่เด็กมี
                                         ความเครียด กังวล ไม่มีความสุข รู้สึกไม่เป็นที่รัก หรือคาดการณ์ไม่ได้ว่า                     5) การเรียนรู้ทักษะทางสังคม-อารมณ์ เป็นองค์ประกอบส�าคัญอีกข้อหนึ่ง

                                         ผู้ใหญ่จะเอาอย่างไรกับเขา  ทักษะสมอง EF ก็จะไม่แข็งแรง                                        เน้นที่การให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้เล่นกับเพื่อน ทั้งนี้

                                                                                                                                       เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้รู้จักอารมณ์ตนเอง และก�ากับอารมณ์ตนเอง
                                       2) การดูแลสุขภาพทางกายภาพของสมองให้แข็งแรง การกินอิ่ม นอนหลับ                                   ให้เป็นปกติได้ รู้จักเข้าใจคนอื่น อยู่กับคนอื่นได้  มีสัมพันธภาพที่ดีกับคนอื่นๆ
                                         เพียงพอ การได้ออกก�าลังกายสม�่าเสมอ การได้รับอากาศบริสุทธิ์ ล้วนมี                            และสามารถจัดการสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยค�านึงถึงผลที่จะ

                                         ส่วนในการสร้างความแข็งแรงทางกายภาพให้กับสมอง เช่นเดียวกับร่างกาย                              เกิดขึ้นกับทั้งตนเองและผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความปลอดภัย การมีค่านิยม

                                         ที่แข็งแรงที่จะเป็นฐานของการด�าเนินชีวิต สมองที่แข็งแรงสมบูรณ์ ไม่เป็นโรค                     ที่สอดคล้องกับบรรทัดฐานของสังคม เป็นต้น
                                         ก็จะเป็นฐานที่ดีในการท�างานของความคิด ความรู้สึก หรือการกระท�าของ
                                         เด็กต่อไป มีงานวิจัยชัดเจนว่า เด็กที่นอนไม่พอ EF จะอ่อนแอ เด็กที่ได้

                                         ออกก�าลังกายกลางแจ้งสม�่าเสมอ จะมี EF ในด้านการจดจ่อใส่ใจดีขึ้น เป็นต้น



                                       3) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เกื้อกูล เหมาะสม ซึ่งรวมความทั้ง
                                         -  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและน่าอยู่

                                           ของสถานที่ทั้งที่บ้านและโรงเรียน การมีกิจวัตรประจ�าวันที่สม�่าเสมอ

                                         -  สภาพแวดล้อมทางอารมณ์ จิตใจ และสังคม เช่น บรรยากาศที่ร่มเย็น
                                           รื่นรมย์ ให้ความสุข หรือสนุกสนาน หรือเด็กรู้สึกเป็นเจ้าของพื้นที่ด้วย
                                           เช่น การมีกติกาที่เด็กมีส่วนร่วมและทุกคนปฏิบัติกันอย่างเสมอต้นเสมอปลาย

                                           จินตนาการ ส่งเสริมให้กล้าคิดกล้าท�า เป็นต้น









            30                                                                                                                                                                                                                    31
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35