Page 22 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 22

EF จึงเป็นทักษะที่มีความส�าคัญยิ่งยวด ถ้าพัฒนาได้ดีเต็มศักยภาพ  ก็จะท�าให้                    เด็กแบบนี้คือเด็กที่เราทุกคนต้องการ และเมื่อเติบโตขึ้นเขาก็จะเป็นผู้ใหญ่
                                     เราเป็นคนที่ คิดเป็น ท�าเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็นและ                   ที่มีคุณภาพที่จะดูแลรับผิดชอบสังคมไทยต่อไปได้

                                     หาความสุขเป็น                                                                                   แต่ถ้าเด็กขาดคุณลักษณะ EF ในด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน ก็จะกระทบ
                                       น�ามาซึ่งความส�าเร็จทั้งในการเรียน การท�างานอาชีพ และการสร้างความ                           ต่อการพัฒนาของเด็กคนนั้นๆ เช่น เด็กที่ขาดทักษะสมองในด้านจดจ่อใส่ใจ

                                     สัมพันธ์กับคนอื่นๆ นั่นเอง                                                                    อย่างรุนแรง อาจจะเป็นเด็กสมาธิสั้น เด็กที่ขาดความยับยั้งชั่งใจ ไม่สามารถ
                                       แต่ถ้า EF ทั้ง 9 ด้านนี้ไม่ได้รับการพัฒนา หรือพัฒนามาอย่างกะพร่องกะแพร่ง                    ควบคุมอารมณ์ อาจกลายเป็นเด็กที่หุนหันพลันแล่น ก้าวร้าว ขาดวิจารณญาณ

                                     ก็พอคาดเดาได้ว่า ชีวิตบุคคลนั้นๆ จะเต็มไปด้วยปัญหาเพียงใด                                     เสพติดสิ่งต่างๆ ง่าย เด็กที่ไม่มีทักษะวางแผนจัดการงาน ก็อาจจะท�างานที่
                                                                                                                                   ครูหรือพ่อแม่มอบหมายไม่ส�าเร็จ เป็นต้น

                                     EF ส�าคัญอย่างไรต่อการพัฒนาเด็ก                                                                 การขาดทักษะเหล่านี้ ยังอาจน�าไปสู่การไม่เห็นคุณค่าในตนเอง การอดกลั้น
                                                                                                                                   ต่อสิ่งเร้ารอบตัวไม่ได้ อาจน�าไปสู่การ “ติด” ต่างๆ  ในอนาคต เช่น ติดเกม ติดเพื่อน

                                                                                                                                   ติดสุรา ติดบุหรี่และยาเสพติด เป็นต้น
                                       เมื่อเด็กได้รับโอกาสพัฒนา EF ทั้งตัวเด็กเองและสังคมจะได้รับประโยชน์

                                     เพราะจะช่วยสร้างพฤติกรรมเชิงบวกและช่วยในการตัดสินใจในทางที่สร้างสรรค์                           แล้วเขาจะเป็นพลเมืองคุณภาพในอนาคตได้อย่างไร
                                     ต่อตัวเอง และต่อคนอื่นๆ หากเด็กมีทักษะ EF เขาจะมีความสามารถในการคิด
                                     การรู้สึก และการจัดการตนเองที่ดี เช่น                                                         EF พัฒนาขึ้นอย่างไรและเมื่อไร

                                       •  มีความจ�าดี มีสมาธิจดจ่อ สามารถท�างานต่อเนื่องได้จนเสร็จ

                                       •  รู้จักวิเคราะห์ วางแผนงานเป็นระบบ ลงมือท�างานได้ และจัดการงาน                              มนุษย์เราไม่ได้เกิดมาพร้อมกับทักษะ EF ในทันที แต่เราเกิดมาพร้อมกับ
                                         จนเสร็จตามก�าหนด                                                                          “ศักยภาพ” ที่จะพัฒนาทักษะเหล่านี้
                                       •  น�าสิ่งที่เคยเรียนรู้ เคยมีประสบการณ์มาก่อน มาใช้ในการท�างานหรือ                           ส่วนจะพัฒนาได้แค่ไหน อย่างไร ขึ้นอยู่กับการฝึกฝนผ่านประสบการณ์ต่างๆ

                                         ท�ากิจกรรมใหม่ได้                                                                         ตั้งแต่ช่วงวัยทารกจนถึงวัยเด็ก และต่อไปยังวัยรุ่น

                                       •  ปรับเปลี่ยนความคิดได้เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน ไม่ยึดติดตายตัว และอาจ
                                         พัฒนาไปถึงขั้นความคิดสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบได้                                             •  EF ใช้เวลาพัฒนายาวนาน ตั้งแต่ขวบปีแรกจนถึงวัยผู้ใหญ่
                                       •  รู้จักประเมินตนเอง น�าจุดบกพร่องมาปรับปรุงการท�างานให้ดีขึ้นได้ รู้จัก                     การวิจัยจ�านวนไม่น้อยชี้ว่า EF เริ่มพัฒนาขึ้นในเวลาไม่นานหลังปฏิสนธิ โดยใน

                                         แก้ปัญหา                                                                                  ช่วงวัย 3-6 ปีจะเป็นช่วงวัยที่เรียกว่าเป็น “หน้าต่างแห่งโอกาส” ที่ส�าคัญที่สุดเพราะ

                                       •  รู้จักยับยั้งควบคุมตนเองไม่ให้ท�าในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง แม้จะมีสิ่งยั่วยวน                  เป็นช่วงที่มีอัตราการเติบโตของทักษะ EF สูงมาก
                                       •  รู้จักแสดงออกกับเพื่อนหรือในสังคมอย่างเหมาะสม น�าไปสู่การรู้จักเคารพผู้อื่น                อย่างไรก็ตาม ทักษะนี้ยังมีอัตราการพัฒนาต่อเนื่องไปจนถึงวัยเรียน วัยรุ่นและ
                                         อยู่กับคนอื่นได้ดี ไม่มีปัญหา                                                             ถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น (ประมาณ 25-30 ปี) ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สมองส่วนหน้าพัฒนา

                                       •  เป็นคนที่อดทนได้ รอคอยเป็น                                                               เต็มที่ แต่ทั้งนี้ อัตราการพัฒนาของ EF ในช่วงวัยเรียน วัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ตอนต้นจะ

                                       •  มีความอุตสาหะพากเพียร ล้มแล้วลุกขึ้นสู้ใหม่ได้ มุ่งมั่นไปสู่ความส�าเร็จ                  พัฒนาในอัตราที่ไม่สูงมากเท่ากับอัตราการพัฒนา EF ในช่วง 3-6 ปี หลังจากนั้น




            22                                                                                                                                                                                                                    23
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27