Page 32 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 32

“ให้โอกาสเด็ก” คือค�าส�าคัญ                                                                                 พ่อแม่และครูของเด็กประถมจะสังเกตได้ชัดว่าเด็กวัยนี้มีการควบคุมตัวเอง

                                                                                                                                   ได้ดีขึ้น (inhibitory control) และมีความสามารถในการจดจ่อ (focus attention)

                           ไม่ว่าในวัยใดๆ “การให้โอกาส” แก่เด็กในการพัฒนาฝึกฝนทักษะ EF คือเรื่องส�าคัญอย่างยิ่ง                    ท�างานได้นานขึ้นกว่าช่วงปฐมวัย สามารถจดจ�าและถ่ายทอดความจ�า (working

                         แม้โดยธรรมชาติเด็กจะสามารถสร้างโอกาสพัฒนา EF ให้ตนเองได้ เช่น เล่นกับเพื่อนแล้วคิดค้น                     memory) ของตนออกมาเป็นค�าพูดได้ดีขึ้นเรื่อยๆ และด้วยเหตุที่วัยนี้ตาม
                         วางแผน ก�าหนดกติกากันเอง ฯลฯ แต่ในชีวิตจริง วัยเด็กยังเป็นวัยที่เด็กจะต้องพึ่งพาผู้ใหญ่  ให้              พัฒนาการแล้วใช้ร่างกายได้ดีขึ้น จึงมักขยันขันแข็ง อยากท�าโน่นลองนี่อยู่ตลอดเวลา

                         ผู้ใหญ่ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือครู ผู้ดูแลเด็ก ได้ช่วยเป็น “นั่งร้าน” ประคับประคอง             อีกทั้งเริ่มจะมีการตั้งเป้าหมายและวางแผนสิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น และชอบแก้ปัญหา
                         และให้โอกาสพวกเขาได้เรียนรู้ แล้วค่อยๆ พัฒนาทักษะสมองของเขาให้แข็งแรงขึ้น จนกว่าจะถึง                     (ซึ่งจะเห็นได้ชัดมากขึ้นในช่วงประถมปลาย)

                         เวลาที่เขาสามารถคิดและจัดการชีวิตได้ด้วยตนเองอย่างเต็มที่                                                   งานวิจัยชี้ว่า การเปลี่ยนแปลงส�าคัญในทักษะสมอง EF ของช่วงวัยประถมอีกด้าน
                           นักวิชาการที่ร่วมจัดการความรู้กับสถาบัน RLG (Rakluke Learning Group) จึงได้สรุปเป็น                     คือ ความสามารถที่จะคิดอย่างยืดหยุ่น เข้าใจความหลากหลายแล้วสามารถปรับตัวได้

                         แนวปฏิบัติไว้ดังนี้                                                                                       ซึ่งต่างจากช่วงปฐมวัย ที่พูดออกมาได้ว่าควรท�าอย่างไร แม้ว่ายังท�าตามที่พูดไม่ได้
                                                                                                                                   ทั้งหมด แต่วัยประถมศึกษาก็เริ่มท�าได้ดีขึ้นมาก โดยเฉพาะประมาณช่วง 8-10 ปี
                                                                                                                                   ความสามารถในการยืดหยุ่นความคิดเกือบจะใกล้เคียงกับของผู้ใหญ่
                                            ให้โอกาสเด็กๆ พัฒนา EF                                                                   ดังนั้นการหนุนช่วยจากภายนอก โดยพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้ใหญ่ที่ดูแลหรือ

                   คิด                                                                                                             การเห็นแบบอย่าง ก็จะช่วยเสริมพลังให้เด็กประถมดูแลจัดการตนเองได้ดีขึ้น

                                                                                                                                     การให้โอกาสเด็กประถมได้ฝึกฝนทักษะสมอง EF ต่อเนื่อง เช่น ให้เด็ก...

               •  ได้คิดอิสระ                                                           ทบทวน
               • ได้จินตนาการ
               • ได้เฝ้าวิเคราะห์
               • ได้ตั้งค�าถาม                                                       •  ได้ทวนประสบการณ์                                                                                        ได้มีส่วนร่วมในการสร้างข้อตกลง
                 หาค�าตอบ                                                            •  ได้สรุปบทเรียน                            ได้ช่วยเหลือตัวเองในเรื่อง    ได้ร่วมคิด วิเคราะห์            หรือกติกาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
               • ได้ตัดสินใจ                                                                                                      เสื้อผ้า การบ้าน การเรียน     ถกปัญหา ลับสมอง ด้วยค�าถาม      ในชีวิตของเขา
               • ได้ฝึกคาดการณ์                                                                                                   รับผิดชอบจัดการเรื่องราว      ปลายเปิดต่างๆ มีการสื่อสาร
                                                                                                                                  ของตนเองในพื้นที่ของตนเอง     พูดคุยกันในครอบครัวหรือใน
                                                                                                                                  โดยผู้ใหญ่ไม่ช่วยท�าให้       ห้องเรียนเสมอๆ                        ได้ฝึกการศึกษาค้นคว้า
                  ท�า                                                                                                                                                                                 สังเกต ทดลองท�าสิ่งใหม่ๆ
                                                                                       ท้าทาย

                •  ได้ลงมือท�า              วางแผน       •  ได้ฝึกวางแผน
                •  ได้พึ่งตัวเอง                         •  ได้ฝึกจัดระบบ               •  ได้กล้าริเริ่ม                                   ได้มีประสบการณ์ในเรื่องต่างๆ                   ได้ช่วยงานบ้าน รับผิดชอบ
                •  ได้เล่นอิสระ                          •  ได้ฝึกจัดการเวลา            •  ได้ความท้าทาย                                    ในสถานที่ต่างๆ กับผู้คนที่หลากหลาย             ตามที่สามารถท�าได้
                •  ได้เรียนรู้จาก                        •  ได้ฝึกจัดล�าดับ             •  ได้ลองผิดลองถูก                                                                                 อย่างสม�่าเสมอเป็นประจ�า เป็นต้น
                  ประสบการณ์จริง                           ความส�าคัญ                   •  ได้แก้ปัญหา






            32                                                                                                                                                                                                                    33
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37