Page 34 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 34

การได้รับโอกาสฝึกฝนต่อเนื่องจะเป็นการเสริมพื้นฐานที่แข็งแรงยิ่งขึ้นในด้าน                                              EF กับ IQ

                                  ทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และความส�าเร็จในการเรียนรู้ ต่อเนื่องไปจนถึงวัยรุ่น                                               ค�าถามที่พ่อแม่และครูจ�านวนมากให้ความสนใจเป็นอย่างมากก็คือ
                                  และวัยผู้ใหญ่ต่อไป
                                                                                                                                                             “EF กับ IQ หรือ EQ เกี่ยวข้องกันอย่างไร”
                                    การจัดหลักสูตรการเรียนรู้ของโรงเรียน ต้องเน้นให้มีกิจกรรมที่ได้ลงมือท�า

                                  (learning by doing) เน้นการเรียนรู้แบบ project-based learning หรือ
                                  problem-based learning เพื่อฝึกการวางเป้าหมาย การจัดล�าดับก่อนหลัง

                                  การบริหารเวลา การอดทนพากเพียร การสังเกตเรียนรู้ขั้นตอนการท�างานด้วย
                                  ประสบการณ์จริง

                                    ให้เด็กประถมได้มีโอกาสออกไปเผชิญสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ พบคนใหม่ๆ เพื่อนใหม่ๆ                           นักวิทยาศาสตร์อธิบายเรื่องนี้ไว้ว่า “คนมักคิดว่า คนที่มีปัญญา (intelligence)
                                  ได้แก้ปัญหาต่างๆ (ที่เหมาะสมกับวัย) ด้วยตนเอง รวมทั้งเมื่อเสร็จแล้วมีโอกาส                       ดี มักจะมี EF ดีโดยปริยาย แล้วเราก็มักจะคาดหวังว่า เด็กที่เรียนดีจะมีนิสัย

                                  ฝึกการประเมินผลว่างานที่ท�าไปแล้วนั้นดี หรือไม่ดีอย่างไร และมีการให้ก�าลังใจ                     การท�างานที่ดี จัดการกับการงานทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนได้ดี แต่ในความเป็นจริง
                                  เมื่อเด็กท�าส�าเร็จ                                                                              IQ กับ EF ไปด้วยกันได้ในบางระดับเท่านั้น เด็กที่มีปัญญาเลิศอาจจะยับยั้ง

                                    หลักสูตรการจัดการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาของประเทศเราก็จะต้อง                                 แรงกระตุ้นไม่ค่อยได้ วางแผนหรือจัดการชีวิตประจ�าวันได้ไม่ดี การมีปัญญา
                                  ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงไม่น้อย ซึ่งการ “จดแล้วท่อง ท่องแล้วจ�า จ�าแล้วสอบ                           วิเคราะห์และเข้าใจการงาน ก็ไม่ได้หมายความว่าเด็กจะลงมือท�างานได้อย่างมี

                                  สอบแล้วลืม” ไม่ช่วยให้ทักษะสมอง EF ของเด็กพัฒนา แต่การได้พบประสบการณ์                            ประสิทธิภาพและมุ่งมั่นท�าจนส�าเร็จ” 12
                                  จริงจะช่วยให้เด็กมีการจดจ�าที่จะน�ามาใช้งานในอนาคตได้ดีกว่า

                                    การเรียนเพื่ออยู่รอดได้ในศตวรรษที่ 21 จะต้องเน้นฝึกทักษะมากกว่าเนื้อหา                           นอกจากนี้ ยังมีนักวิจัยที่ชี้อีกว่า “การทดสอบ IQ แบบดั้งเดิมนั้นเป็นการ
                                  และไม่ใช่เน้นบังคับกะเกณฑ์ให้แข่งขันเอาคะแนนสอบอย่างเอาเป็นเอาตาย ควร                            วัดสิ่งที่เรียกว่า ‘ความสามารถทางปัญญาที่ตกผลึกแล้ว’ (crystallized

                                  ยกเลิกการเรียนแบบไม่ได้สัมผัสประสบการณ์การเรียนรู้จากชีวิตจริงเลย                                intelligence) เป็นการเรียกข้อมูลในสิ่งที่เรียนไปเรียบร้อยแล้ว เช่น ค�านี้
                                                                                                                                   หมายความว่าอย่างไร เมืองหลวงของประเทศนี้ชื่ออะไร แต่ Executive Functions

                                    พูดได้ว่า การให้โอกาสเด็กได้เรียนรู้แบบ active learning จะช่วยส่งเสริม                         คือความสามารถในการใช้สิ่งที่เรารู้แล้วน�ามาสร้างสรรค์ใหม่ หรือน�ามาแก้ปัญหา
                                  EF ตลอดทางทั้งสิ้น ในทางตรงข้าม การจัดการเรียนรู้แบบ passive learning                            ในปัจจุบัน ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับความสามารถทางปัญญาที่เลื่อนไหล (fluid

                                  ก็จะท�าลายสมองเด็กอย่างน่าเสียดายที่สุด                                                          intelligence)...มีหลักฐานมากขึ้นเรื่อยๆ ที่ชี้ชัดว่า ความจ�าที่ใช้งาน (working
                                                                                                                                   memory) กับการยั้งคิดไตร่ตรอง (inhibition) เป็นสิ่งที่บอกถึงความส�าเร็จ

                                                                                                                                   ของเด็กหลังจบจากโรงเรียนแล้ว ได้ดียิ่งกว่าการทดสอบ IQ” 13










            34                                                                                                                                                                                                                    35
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39