Page 62 - คู่มือ Executive Functions สำหรับครูปฐมวัย
P. 62

ทักษะสมอง EF มีพัฒนาการอย่างไร และมีความสัมพันธ์                                                               ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะสมอง EF และคุณภาพความผูกพัน
                                     อย่างไรกับพัฒนาการด้านอื่นๆ                                                                    มิติที่ 1       (Attachment Quality)

                                                                                                                                                      พัฒนำกำร EF ในช่วงปฐมวัยเป็นเรื่องที่มีควำมละเอียดอ่อน ต้องใช้ควำม

                                       เนื่องจำกทักษะสมอง EF มีควำมส�ำคัญต่อกำรพัฒนำและควำมส�ำเร็จในกำร                                             เข้ำใจและควำมใส่ใจในกำรดูแลส่งเสริมพัฒนำกำรเป็นพิเศษ เนื่องจำกพัฒนำกำร

                                     ด�ำเนินชีวิต ในบทนี้จึงจะเน้นกำรอธิบำยล�ำดับขั้นและระยะพัฒนำกำรของทักษะ                                        สมองส่วน EF มีระยะและล�ำดับขั้นของพัฒนำกำรที่น่ำสนใจและท้ำทำยที่จะหำ
                                     สมอง EF เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจ และเล็งเห็นควำมส�ำคัญของกำรส่งเสริมพัฒนำกำร                                     ค�ำตอบ
                                     ของทักษะสมอง EF ได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม ตำมล�ำดับขั้นและระยะเวลำของ

                                     พัฒนำกำร ซึ่งจะอธิบำยพัฒนำกำรทักษะสมอง EF ใน 2 มิติควบคู่กันไป                                                 •  เมื่อพัฒนำกำรของสมองส่วนที่เป็น CEO กลับเป็นส่วนของสมองที่เกิด
                                                                                                                                                    หลังสุด จะเกิดอะไรขึ้นกับทักษะสมอง EF
                                                                                                                                                      ในขณะที่ EF ท�ำหน้ำที่เป็นผู้บริหำรสูงสุดของสมองที่ท�ำหน้ำที่ควบคุมสั่งกำร
                                     มิติที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะสมอง EF และคุณภาพความผูกพัน                                                  สมองส่วนอื่นๆ ทั้งหมด เพื่อควบคุมร่ำงกำยและจิตใจให้ท�ำงำนร่วมกันอย่ำง

                                     มิตินี้จะอธิบำยถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงทักษะสมอง EF และคุณภำพควำมผูกพัน                                          สอดคล้องสมดุล แต่“สมองส่วนหน้ำ”ที่เป็นพื้นที่ปฏิบัติกำรของ EF กลับเป็นสมอง
                                     (Attachment Quality) ซึ่งเป็นประสบกำรณ์เฉพำะของเด็กแต่ละคนที่ได้รับ                                            ส่วนที่เกิดหลังสุด และมีกำรเจริญเติบโตเต็มที่ช้ำที่สุด ส่งผลให้เด็กปฐมวัยสำมำรถ
                                     จำกกำรเลี้ยงดู เพื่อแสดงให้เห็นควำมเชื่อมโยงของคุณภำพควำมผูกพันที่มีต่อ                                        ใช้สมอง EF ควบคุมกำรท�ำงำนของสมองส่วนอื่นๆ ได้ไม่เต็มที่ ท�ำให้สมองส่วนที่มี

                                     พัฒนำกำรด้ำนต่ำง ๆ และกำรท�ำงำนของสมองส่วนหน้ำซึ่งเป็นพื้นที่ปฏิบัติกำร                                        กำรเจริญเติบโตเต็มที่เร็วกว่ำ และมีควำมพร้อมในกำรท�ำงำนมำกกว่ำคือสมองส่วน

                                     ของ EF                                                                                                         แกน (Core Brain) และสมองลิมบิค (Limbic Brain) สำมำรถยึดกำรควบคุมสมอง

                                                                                                                                                    ทั้งหมดได้ง่ำย จึงเป็นเหตุผลว่ำท�ำไมสมองของเด็กปฐมวัยจึงยังไม่สำมำรถควบคุม

                                     มิติที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะสมอง EF  และพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน                                              พฤติกรรมและคิดอย่ำงสลับซับซ้อนได้ดีเท่ำกับสมองของผู้ใหญ่
                                     มิตินี้จะอธิบำยถึงพัฒนำกำรของทักษะสมอง EF บนพื้นฐำนพัฒนำกำรของเด็ก

                                     ปฐมวัยทั้ง 4 ด้ำน เพื่อแสดงให้เห็นควำมสอดคล้องของพัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย
                                     อำรมณ์จิตใจ สังคม และกระบวนกำรคิด ที่ส่งผลต่อพัฒนำกำร EF ในแต่ละ

                                     ล�ำดับขั้นพัฒนำกำร และในแต่ละช่วงอำยุ
                                                                                                                                          ถ้าสมองส่วนหน้าเป็น “รถ” และทักษะสมอง EF
                                                                                                                                          เป็น “ทักษะการขับรถ”พัฒนาการทักษะสมอง EF
                                                                                                                                          ในช่วงปฐมวัย ก็เปรียบได้ดั่ง “รถที่ยังประกอบไม่สมบูรณ์

                                                                                                                                          และขับเคลื่อนโดยผู้ที่เพิ่งหัดขับรถ” นั่นเอง












            62                                                                                                                                                                                                                    63
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67