Page 17 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 17

เรามารู้จัก EF กันให้ดีก่อน

               ทักษะสมอง Executive Functions (EF) คืออะไร

 Motor Cortex  Sensory Cortex
 สมองส่วนหน้า  การเคลื่อนไหว  ความรู้สึกต่างๆ
 Executive Functions    คือ ชุดกระบวนการทางความคิด (mental process) ที่ช่วยให้เราวางแผน
 การคิด การวางแผน  Parietal Lobe  มุ่งใจจดจ่อ จดจ�าค�าสั่ง และจัดการกับงานหลายๆ อย่างที่ประดังเข้ามาให้ลุล่วง
 การจัดการ การแก้ปัญหา  การรับรู้ การรู้จักโลก  เรียบร้อยได้ สามารถจัดล�าดับความส�าคัญของงาน วางเป้าหมายและท�าไปเป็น
 การควบคุมอารมณ์และ  การคิดค�านวณ
 พฤติกรรม  การสะกดค�า  ขั้นตอนจนส�าเร็จ รวมทั้งควบคุมแรงอยาก แรงกระตุ้นทั้งหลาย ไม่ให้สนใจไปนอก
 การสร้างบุคลิกภาพ  ลู่นอกทาง เหมือนกับระบบควบคุมการบินในสนามบินที่จัดการกับเที่ยวบิน
               เข้า-ออกจ�านวนหลายสิบเที่ยวในเวลาเดียวกัน 2


 Occipital Lobe    ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร สรุปว่า EF คือ กระบวนการท�างานของสมอง
 การมองเห็น
               ระดับสูง ที่ประมวลประสบการณ์ในอดีตและสถานการณ์ในปัจจุบัน มาประเมิน
               วิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผน เริ่มลงมือท�า ตรวจสอบตนเอง แก้ไขปัญหา ตลอดจน
 Temporal  Lobe  ควบคุมอารมณ์ บริหารเวลา จัดความส�าคัญ ก�ากับตนเอง และมุ่งมั่นท�าจนบรรลุ
 ความจ�า       เป้าหมายที่ตั้งใจไว้ (Goal- Directed Behaviors) 3
 การเข้าใจ  และภาษา
 เครดิตภาพจาก www.headway.org.uk    หรือกล่าวง่ายๆ ได้ว่า เป็นทักษะความสามารถที่มนุษย์เราทุกคน ไม่ว่าเด็ก ผู้ใหญ่
               ไม่ว่าชนชาติชนชั้นใดๆ และไม่ว่าในอดีต ปัจจุบัน หรือแม้แต่ในอนาคต เมื่อเกิด

               เป็นมนุษย์แล้วก็จะต้องใช้สมองเหล่านี้ในการด�าเนินชีวิตทุกๆ วัน ให้อยู่รอด
               ปลอดภัย และท�ากิจการงานต่างๆ ให้ส�าเร็จเรียบร้อย

 ทักษะ Executive Functions (EF) อยู่ในสมองของเราทุกคน




     จากแผนภาพข้างบนนี้  จะเห็นว่า  ความคิด ความรู้สึก และการกระท�าต่างๆ
 ของเราเกิดขึ้นที่สมองส่วนต่างๆ โดยสมองส่วนหน้าที่อยู่ภายใต้กะโหลกหน้าผาก  ธรรมชาติให้ทักษะสมอง EF นี้แก่มนุษย์ทุกคน
 เปรียบเสมือนผู้บริหารสูงสุด(CEO)ขององค์กร ที่ควบคุมความคิด การตัดสินใจ   ท�าให้มนุษย์เราเป็นสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตอื่น ที่มิได้มีเพียงสัญชาตญาณและอารมณ์

 อารมณ์ การแสดงออก และการกระท�าของมนุษย์เรา   หากสามารถก�ากับความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของตนเองได้

     แต่ก็ไม่ใช่สมองส่วนหน้าควบคุมทั้งหมดเพียงส่วนเดียว หากมันยังท�างาน   มนุษยชาติได้ใช้ทักษะความสามารถของสมองเรานี้เอง
 1
 ร่วมกับสมองส่วนอื่นๆ ตามทฤษฎี Integrative Theory โดยมีวงจรเส้นใยประสาท  ในการสร้างและพัฒนาโลกที่แตกต่างไปจากสัตว์ทั้งปวง  มาตลอดทุกยุคทุกสมัย
 ที่เชื่อมต่อถึงกัน






 16                                                                                                           17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22