Page 19 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 19

องค์ประกอบของ EF
                                                กลุ่มทักษะพื้นฐาน


   เพื่อให้ง่ายต่อการท�าความเข้าใจ สถาบัน RLG จึงได้จัดการความรู้ร่วมกับ

 นักวิชาการที่ศึกษาค้นคว้าเรื่อง EF และแยกแยะ EF ออกเป็น 9 ด้าน เพื่อให้   1. Working Memory =
 เห็นว่า ทักษะสมอง EF นั้นประกอบไปด้วยทักษะย่อยๆ หลายด้าน โดยจัดเป็น 3     “ความจ�าที่น�ามาใช้งาน” คือ ความสามารถ

 กลุ่มทักษะ ได้แก่ กลุ่มทักษะพื้นฐาน กลุ่มทักษะก�ากับตนเอง และกลุ่มทักษะปฏิบัติ
                                                           ในการเก็บประมวลและดึงข้อมูลที่ได้มาจาก
                                                           ประสบการณ์เดิมในชีวิต และเก็บไว้ในคลังสมอง

 Executive Functions (EF)                                  ของเรา น�าออกมาใช้ตามสถานการณ์ที่ต้องการ

 ทักษะสมองเพื่อจัดการชีวิตให้ส�าเร็จ                       ยิ่งมากประสบการณ์  ความจ�าที่น�ามาใช้งานก็ยิ่งมาก

 คิดเป็น  ท�าเป็น  เรียนรู้เป็น  แก้ปัญหาเป็น  อยู่กับคนอื่นเป็น  มีความสุขเป็น
                                               2. Inhibitory Control =

                               การยับยั้งชั่งใจ คิดไตร่ตรอง คือ ความสามารถ
 Focus/
 Initiating  Attention
 =  Working   =                  ในการควบคุมแรงปรารถนาของตนให้อยู่ใน
 ริเริ่มและลงมือท�า  Memory  จดจ่อใส่ใจ
 =                                  ระดับที่เหมาะสมจนหยุดยั้งพฤติกรรมได้
 จ�าเพื่อใช้งาน
 Planning &   Emotional          ในเวลาที่สมควร เด็กที่ขาดความยับยั้งชั่งใจ
 Shift/
 ทักษะ  Organizing  Cognitive   ทักษะ  Inhibitory   Control  ทักษะ  จะเหมือน “รถที่ขาดเบรก” อาจท�าโดยไม่คิด
 ก�ากับ
 =
 =
 ปฏิบัติ  วางแผน จัดระบบ   Flexibility  พื้นฐาน  Control  ควบคุมอารมณ์  ตนเอง  หรือมีปฏิกิริยาตอบโต้แบบไม่ไตร่ตรอง
 =
 =
 ด�าเนินการ  ยืดหยุ่นความคิด  ยั้งคิด ไตร่ตรอง
                                            น�ามาซึ่งปัญหาแก่ตนเองต่อไป
 Self/
 Monitoring
 Goal-directed  =
 Persistence  ติดตาม                             3. Shifting หรือ Cognitive Flexibility =
 =  ประเมินตนเอง
 มุ่งเป้าหมาย                                      ความสามารถในการยืดหยุ่นความคิด เปลี่ยนจุดสนใจ
 Copyright©2015 RLG Institute                      เปลี่ยนโฟกัสหรือทิศทางให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
                                                   เด็กที่มีปัญหาในเรื่องการปรับตัว มักจะติดตันอยู่กับสิ่งเดิมๆ

                                                   ไม่สามารถยืดหยุ่นพลิกแพลงได้ มองไม่เห็นทางออกใหม่ๆ
   กลุ่มทักษะ 3 ด้านที่อยู่กลางแผนภาพ คือกลุ่มทักษะพื้นฐาน ซึ่งเป็นส่วนประกอบพื้นฐาน      ไม่สามารถคิดสิ่งใหม่ๆ นอกกรอบได้ ส่วนคนที่ปรับตัวง่าย

 ที่มีความส�าคัญอย่างยิ่ง เป็น “ฐาน” ของการพัฒนา EF ด้านอื่นๆ ที่อยู่รอบนอก    กินง่าย อยู่ง่าย ก็จะด�าเนินชีวิตไปได้ง่ายกว่า








 18                                                                                                           19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24