Page 21 - คู่มือ Executive Functions สำหรับครูปฐมวัย
P. 21

Pruning กระบวนการท�าลายส่วนที่ไม่ได้ใช้งาน
 สิ่งแวดล้อม
                 จำกนั้นจะมีกระบวนกำรส�ำคัญตำมมำอีกหนึ่งกระบวนกำร คือ กำรท�ำลำยแขนง

  พันธุกรรม    ประสำท และ Synapses บำงส่วนที่มำกเกินทิ้งไป กระบวนกำรท�ำลำยนี้เรียกว่ำ
               “Pruning” เพื่อท�ำให้จ�ำนวน Synapses มีพอดีกับกำรใช้งำน ไม่มำกหรือน้อยเกินไป
               ท�ำให้สมองท�ำงำนมีประสิทธิภำพมำกขึ้น

                 ในท�ำนองเดียวกันกับกำรสร้ำง Synapses กระบวนกำร Pruning ก็มีลักษณะ
               เดียวกันคือ จะเกิดไม่พร้อมกันในสมองแต่ละบริเวณ เช่น เมื่อเด็กอำยุ 2 ขวบ สมอง

               ส่วนกำรมองเห็น (Visual Cortex) จะเริ่มมีกำร Pruning ท�ำให้จ�ำนวน Synapses
 การสร้างเครือข่ายเซลล์ประสาท  ค่อยๆ ลดลงจนเท่ำกับผู้ใหญ่เมื่ออำยุประมำณ 5 ขวบ ในขณะที่สมองส่วนหน้ำสุด
 (e) Network formation  (Prefrontal Cortex) กระบวนกำร Pruning จะเสร็จสมบูรณ์ก็เมื่อย่ำงเข้ำสู่วัยผู้ใหญ่
 การสร้าง Synapse  สมองส่วนนี้จึงจะท�ำหน้ำที่ในกำรควบคุมควำมคิดได้อย่ำงมีประสิทธิภำพที่สุด
 (d) Growth  or synapse formation
                                                                                          เมื่อย่างเข้าสู่
                                                                                          วัยผู้ใหญ่ สมองส่วน
                                                                                          Prefrontal Certex

 การงอกของปลายประสาทไปหาเซลล์เป้าหมาย                                                     จึงจะท�าหน้าที่
 (C) Guidance

 การเปลี่ยนรูปร่างและการอพยพของเซลล์ประสาท  ขั้นตอน                                       ควบคุมความคิด
 (b) Differentiation migration  การพัฒนาสมอง                                              ได้อย่างมี

 การเพิ่มจ�านวนเซลล์ประสาท                                                                ประสิทธิภาพที่สุด
 (a) Proliferation







 ขั้นตอนการพัฒนาสมอง (a) กำรเพิ่มจ�ำนวนเซลล์ประสำท (b) กำรเปลี่ยนรูปร่ำงและกำรอพยพ
 ของเซลล์ประสำท (c) กำรงอกของปลำยประสำทไปหำเซลล์เป้ำหมำย (d) กำรสร้ำง Synapses
 และ (e) กำรสร้ำงเครือข่ำยเซลล์ประสำทที่ท�ำงำนร่วมกันในกำรคิด กระบวนกำรเหล่ำนี้ส่วนหนึ่ง
 ถูกก�ำหนดโดยพันธุกรรม (a-c) แต่หลังจำกนั้น (c-e) สิ่งแวดล้อม กำรเลี้ยงดูและกำรอบรมสั่งสอน
 จะเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยให้สมองพัฒนำได้เต็มศักยภำพ ครูและพ่อแม่จึงมีบทบำทส�ำคัญต่อกำร
 สร้ำงสมองของเด็ก (Yehezkel Ben-Ari, 2008)




                      แรกเกิด                   6 ปี                  14 ปี

                   เครดิตภำพ : Center on the Developing Child-Harvard University



 20                                                                                                           21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26