Page 26 - คู่มือ Executive Functions สำหรับครูปฐมวัย
P. 26

Executive Functions (EF)
                                     พื้นฐานส�าคัญของความสามารถทางการคิดที่ซับซ้อนขึ้น

                                       กำรเข้ำใจตนเองและเข้ำใจผู้อื่นเป็นทักษะส�ำคัญที่จะท�ำให้เด็กมีพัฒนำกำร
                                     ด้ำนสังคมต่อไป ซึ่งพัฒนำกำรด้ำนกำรคิดเหล่ำนี้ต้องอำศัยทักษะส�ำคัญที่เรียกว่ำ
                                     Executive Functions (EF) เป็นพื้นฐำนทั้งสิ้น เด็กที่มีกำรพัฒนำทักษะด้ำน EF                          สรุป

                                     ดีตำมวัย จะควบคุมอำรมณ์ ควำมต้องกำร ควำมอยำกได้ สำมำรถยั้งใจได้
                                     ก�ำกับตนเองให้มุ่งมั่นจดจ่อจนน�ำไปสู่ควำมส�ำเร็จได้ เมื่อเด็กโตขึ้นจนย่ำงเข้ำสู่

                                     วัยเรียนและวัยรุ่น ทักษะด้ำน EF จะยิ่งมีควำมส�ำคัญต่อควำมส�ำเร็จทำง
                                     กำรเรียนมำกขึ้น เพรำะเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องรับผิดชอบตัวเองมำกขึ้น                          •   การพัฒนาของสมองมี 3 กระบวนการ
                                     เรื่อยๆ ในขณะที่มีสิ่งมำล่อใจมำกมำย เด็กจึงต้องรู้จักบริหำรจัดกำรตนเอง                                   1. Synapses คือ กำรที่เซลล์ประสำทยื่นแขนงประสำทออกมำแตะกัน  เกิดกำรสื่อสำร

                                     ในเกือบทุกเรื่องจึงจะประสบควำมส�ำเร็จได้ กำรฝึกทักษะด้ำน EF ตั้งแต่วัยเด็กเล็ก                           รับส่งข้อมูลกัน
                                     จึงมีควำมส�ำคัญเพรำะจะเป็นพื้นฐำนในกำรคิดที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ เช่น กำร                                  2.  Pruning คือ กำรท�ำลำยแขนงประสำทและกำรสื่อสำรข้อมูลบำงส่วนที่มำกเกินไป

                                     ตัดสินใจ (Decision Making) ควำมอดทน มำนะพยำยำม ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค                                       3. กำรสร้ำงเยื่อไขมัน (Myelin) หุ้มเส้นใยประสำทท�ำให้สัญญำณประสำทเร็วขึ้นมำก
                                     (Grit) และควำมสำมำรถในกำรฟื้นตัวได้ เปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกำสได้ (Resillience)
                                     เพื่อก�ำกับตนเองไปสู่ควำมส�ำเร็จต่อไป                                                                    •   ช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาส�าคัญของการสร้าง Synapes จ�านวนมาก
                                                                                                                                              ในสมอง และเป็นช่วงเวลำที่สมองส่วนหน้ำสุดซึ่งมีหน้ำที่เกี่ยวกับกำรคิด กำรตัดสินใจ

                                                                                                                                              กำรควบคุมอำรมณ์และควำมคิด มีกำรพัฒนำอย่ำงมำกเช่นกัน




                                              ตัดสินใจ                            ความสามารถ                                                  •   สมองของมนุษย์แต่ละคนจะมีพัฒนาการที่ยาวนาน จึงต้องกำรปัจจัยที่ดี
                                             (Decision                           ในการฟื้นตัวได้                                              ทั้งกำรดูแล อบรมสั่งสอน กำรมีปฏิสัมพันธ์ และสภำพแวดล้อม ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มำรดำ

                                              Making)                       เปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสได้                                         สู่ปฐมวัย และเติบโตจนก้ำวผ่ำนช่วงวัยรุ่น
                                                                                  (Resillience)





                                                        ความอดทน
           การฝึกทักษะด้าน EF                          มานะพยายาม

                                                    ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค
                                                          (Grit)








            26                                                                                                                                                                                                                    27
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31