Page 22 - คู่มือ Executive Functions สำหรับครูปฐมวัย
P. 22

กระบวนการสร้างเยื่อไขมัน (Myelin) หุ้มเส้นใยประสาท
                            กระบวนกำรสุดท้ำยที่จะเกิดตำมมำคือ กำรสร้ำงเยื่อไขมัน (Myelin) หุ้มเส้นใยประสำท เยื่อ

                                                                                                                                                             Motor Cortices
                          ไขมันที่หุ้มรอบเส้นใยประสำทหลำยๆ ชั้นนี้มีควำมส�ำคัญเพรำะจะท�ำให้สัญญำณประสำทเดินทำง                                             เปลือกสมองส่วนควบคุม
                                                                                                                                                             การเคลื่อนไหว
                          ได้เร็วขึ้น 10-100 เท่ำ เส้นใยประสำทที่มีเยื่อ Myelin หุ้มอยู่จะเป็นสีขำว ดังนั้นจึงเรียกบริเวณ
                                                                                                                                                                                 Parietal Cortices
                                                                                                                                                                                  เปลือกสมอง
                          กลุ่มเส้นประสำทที่มีเยื่อ Myelin หุ้มและมำรวมกันอยู่ว่ำ “เนื้อสมองส่วนสีขำว” (White Matter)                       Top-Down Attention                    ส่วน Parietal
                                                                                                                                            การมีความสนใจจดจ่อ
                            กำรสร้ำงเยื่อ Myelin หุ้มเส้นใยประสำทมีควำมส�ำคัญมำก เนื่องจำกเป็นตัวบ่งชี้ว่ำสมอง                                                                                          สมองส่วนหน้าสุดท�ำงำนร่วมกับ
                          บริเวณที่อยู่ไกลกันเริ่มมีกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงกันมำกขึ้น กระบวนกำรนี้เกิดขึ้นตลอดเวลำใน                        Behavioral           Basal Ganglia                          สมองหลำยส่วนทำงด้ำนหลัง
                                                                                                                                                                 เบซัล แกงเกลีย
                                                                                                                                            Regulation
                          ระหว่ำงกำรพัฒนำของสมอง โดยสมองแต่ละบริเวณจะมีช่วงเวลำของกำรสร้ำงเยื่อ Myelin เกิดขึ้นไม่                        การก�ากับพฤติกรรม                            Occipital Cortices  ช่วยให้เรำมีสมำธิจดจ่อกับงำน
                                                                                                                                             ตนเอง
                                                                                                                                                                                        เปลือกสมอง
                          พร้อมกัน บำงส่วนเกิดก่อน บำงส่วนเกิดทีหลัง เช่น ในเด็กแรกเกิดมีกำรสร้ำงเยื่อ Myelin ในสมอง                                                                    ส่วน Occipital  ที่ท�ำ ไม่วอกแวก (ลูกศรสีฟ้ำ)
                                                                                                                                                                                                        ควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ ยั้งคิด
                          ส่วนก้ำนสมอง เช่น Pons, Cerebellar Peduncle ซึ่งเป็นบริเวณที่ควบคุมกำรท�ำงำนของอวัยวะ                                                      Temporal Cortices                  ก่อนท�ำ ไม่หุนหันพลันแล่น (ลูก
                                                                                                                                                                       เปลือกสมอง
                                                                                                                                                                      ส่วน Temporal                     ศรสีเขียว) (Amy F.T. Arnsten
                          ที่ส�ำคัญต่อกำรมีชีวิตรอด
                                                                                                                                                                                    Cerebellum          et al, 2009)
                                                                                                                                                                                     สมองน้อย


                                        เมื่อทำรกอำยุ 3 เดือนจะเริ่มมีกำรสร้ำงเยื่อ Myelin หุ้มเส้นใยประสำทใน
                                      สมองส่วนกำรมอง (Optic Radiation) และ Corpus Callosum ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นใย

                                      ประสำทเชื่อมสมองทั้งสองซีก เมื่อเด็กอำยุ 8-12 เดือนจะเริ่มมีกำรสร้ำงเยื่อ
                                      Myelin หุ้มเส้นใยประสำทในเปลือกสมองส่วนหน้ำ (Frontal Lobe), ส่วนท้ำยทอย                      สมองส่วนสัญชาตญาณ           สมองส่วนเหตุผลแม้จะ
                                      (Occipital Lobe) และส่วนด้ำนข้ำง (Parietal Lobe) โดยเฉพำะสมองส่วนหน้ำ                          และส่วนอารมณ์           พัฒนาดีขึ้นในวัยรุ่น แต่ก็ยัง

                                      สุด กระบวนกำรสร้ำงเยื่อ Myelin จะเริ่มเกิดตั้งแต่ช่วงวัยเด็กเล็ก แต่จะด�ำเนินไป                พัฒนาการเต็มที่          ไม่ทันกับการพัฒนาของ                         วัยผู้ใหญ่สมองทุกส่วน
                                      อย่ำงช้ำๆ กว่ำจะเสร็จสมบูรณ์ คือ ในช่วงวัยรุ่นตอนปลำยย่ำงเข้ำสู่วัยผู้ใหญ่                  ในวัยเด็กแต่ส่วนการคิด      สัญชาตญาณและอารมณ์                           จะมีการพัฒนาสมดุลกัน
                                                                                                                                     เหตุผลยังพัฒนา
                                                                                                                                        ไม่เต็มที่



                           สมองส่วนหน้ำสุดมีหน้ำที่เกี่ยวกับกำรคิด กำรตัดสินใจ กำรควบคุมอำรมณ์ ควำมคิด และ
                         กำรกระท�ำ เพื่อก�ำกับตนเองให้ไปสู่ควำมส�ำเร็จ จึงไม่น่ำแปลกใจที่เด็กและวัยรุ่นอำจมีกำรตัดสิน

                         ใจที่ผิดพลำดได้ เพรำะตัดสินใจโดยใช้อำรมณ์มำกกว่ำเหตุผล และอำจตัดสินใจผิดได้เพรำะท�ำโดย
                         ไม่ทันหยุดคิดถึงผลที่จะตำมมำ ข้อมูลเหล่ำนี้ชี้ให้เห็นว่ำกำรพัฒนำด้ำนกำรคิดของมนุษย์มีควำม

                         สัมพันธ์กับพัฒนำกำรสมองส่วนหน้ำสุด ซึ่งเป็นสมองส่วนที่ใช้เวลำในกำรพัฒนำยำวนำนนั่นเอง










            22                                                                                                                                                                                                                    23
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27