Page 36 - คู่มือ Executive Functions สำหรับครูปฐมวัย
P. 36

ในฐานะที่เป็นพ่อแม่ ครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา ท่านรู้สึกอย่างไร
                                         เกี่ยวกับปัญหาเหล่านี้  จะปล่อยให้มันเป็นอยู่อย่างนี้ต่อไปอีกหรือ



                                       จำกปัญหำทั้งปวงข้ำงต้น สะท้อนให้เห็นว่ำ ในกำรดูแลและกำรจัดกำรศึกษำ

                                     เพื่อพัฒนำเด็กไทยที่ผ่ำนมำนั้น ย่อมมีควำมผิดพลำดคลำดเคลื่อนบำงประกำรอยู่
                                     แน่ๆ ผลลัพธ์ของกำรพัฒนำจึง “ติดลบ” เช่นนี้

                                       หนึ่งในสำเหตุส�ำคัญของปัญหำนี้ ซึ่งเป็นที่วิพำกษ์วิจำรณ์กันมำต่อเนื่องยำวนำน
                                     ก็คือ กำรศึกษำที่มุ่งเน้นพัฒนำเด็กด้ำน IQ เป็นส�ำคัญ เน้นกำรท่องจ�ำเนื้อหำ สอน                       ปี 2558                                                                ปี 2583

                                     ด้วยต�ำรำ แข่งขันด้วยกำรสอบทุกระดับตั้งแต่อนุบำลถึงอุดมศึกษำและไม่ได้เอำ
                                     ควำมรู้ด้ำนพัฒนำกำรตำมธรรมชำติของมนุษย์ รวมทั้งพัฒนำกำรของสมองเป็นตัวตั้ง                           อายุ 65 ปีขึ้นไป                                                     คาดว่าจะเพิ่มขึ้น

                                       กล่ำวได้ว่ำ กำรพัฒนำเด็กไทยที่ผ่ำนมำให้ควำมใส่ใจต่อพัฒนำกำรรอบด้ำนของ                               มีมากกว่า                                                           ถึง 17 ล้านคน
                                                                                                                                           7 ล้านคน
                                     เด็กน้อยกว่ำด้ำนท่องจ�ำ และให้ควำมส�ำคัญต่อกระบวนกำรคิด กำรก�ำกับตนเอง

                                     กำรพัฒนำทักษะชีวิต และกำรฝึกฝนจำกประสบกำรณ์จริงน้อยมำก ปัญหำจึงได้                                     10%                                                                  25%
                                     ปรำกฏดังกล่ำวมำข้ำงต้น



                       สาเหตุประการที่สามที่ต้องมาสนใจ EF เพราะเด็กไทยต้องแบกรับสังคมสูงอายุที่

                       หนักหน่วงในเวลาอันใกล้
                         ธนำคำรโลกรำยงำนว่ำ  ในช่วงปี 2558 ผู้สูงวัยอำยุ 65 ปีขึ้นไปมีมำกกว่ำ 7 ล้ำนคนหรือประมำณ
                                             19
                       ร้อยละ 10 ของประชำกรไทยทั้งหมด และคำดว่ำจะเพิ่มขึ้นถึง 17 ล้ำนคน ภำยในปี 2583 หรือกว่ำ                        แต่ถ้ำเด็กไทยตกอยู่ในปัญหำดังกล่ำวไว้ในเหตุผลประกำรที่สอง พวกเขำจะ
                       ร้อยละ 25 ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงที่สุดของภูมิภำค  ด้วยเหตุนี้ ค�ำถำมใหญ่ที่เกิดขึ้นก็คือ สังคมไทยจะดูแล         เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภำพและมีควำมสำมำรถพอที่จะแบกรับภำระนี้ได้หรือ

                       ผู้สูงอำยุจ�ำนวนมำกขนำดนั้นได้อย่ำงไร ถ้ำเด็กวันนี้ที่จะเติบโตไปเป็นวัยแรงงำนในวันนั้น ไม่มีควำม              ด้วยเหตุผล 3 ประกำรดังกล่ำว เรำจึงต้องให้ควำมส�ำคัญอย่ำงยิ่งกับกำรพัฒนำ   การพัฒนา
                       สำมำรถเพียงพอในกำรดูแลเศรษฐกิจสังคมของประเทศ                                                                เด็ก  โดยเฉพำะในกำรพัฒนำสมอง ในส่วนที่ท�ำหน้ำที่ในกำร “บริหำรจัดกำรชีวิต”    ทักษะสมอง

                         นี่คือโจทย์ระยะยำวที่เรำจ�ำเป็นต้องพัฒนำเด็กปฐมวัยวันนี้ ให้เติบโตเป็นคนในวัยท�ำงำนที่มี                  ซึ่งจะช่วยให้ตอบโจทย์ทั้ง 3 ข้อได้คือ ทั้งให้เด็กส่วนใหญ่ที่สุดก้ำวพ้นจำกหล่มลึก  ส่วนหน้า
                                                                                                                                                                                                               หรือ Executive
                       ประสิทธิภำพ พร้อมที่จะแบกรับภำรกิจดูแลสังคมผู้สูงอำยุสมบูรณ์แบบได้ ซึ่งศูนย์วิจัยธนำคำร                     ของปัญหำปัจจุบัน ทั้งเพื่อปลูกฝังให้มีทักษะศตวรรษที่ 21 และเพื่อให้มีควำม   Functions

                       ไทยพำณิชย์ชี้ว่ำ หำกจะแบกรับสภำพสังคมสูงอำยุสมบูรณ์แบบได้อย่ำงดี เด็กในวันนี้จะต้องมีควำม                   สำมำรถในกำรแบกรับภำรกิจสังคมสูงอำยุในอนำคตอันใกล้ได้                        จึงเป็นทางออก
                       สำมำรถในกำรสร้ำงผลิตผล (Productivity) ให้มำกกว่ำคนรุ่นพ่อแม่อย่ำงน้อย  1 เท่ำ                                                                                                           ที่ส�าคัญที่สุด





                        19  http://www.worldbank.org/th/news/press-release/2016/04/08/aging-in-thailand




            36                                                                                                                                                                                                                    37
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41