Page 24 - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี
P. 24

กฎการท�างาน                   Use it or
                1. ภำพรวม : สมองของมนุษย์                                                                                                          ข้อแรกของสมองคือ                 lose it


                                                                                                                                                                                                                  ท�าไมชีวิตจึงต้องมี
                                                                                                                                                                                                                 อวัยวะส่วนที่เรียกว่า

                                              มีอะไรอยู่ในสมองและสมองมีไว้ท�ำหน้ำที่อะไร                                                สิ่งมีชีวิตเริ่มแรกที่อุบัติมำในโลกนี้นั้นไม่มีสมอง จนกระทั่งเกิดกำรวิวัฒนำกำรที่ใช้เวลำ  “สมอง”
                                                                                                                                      นำนนับล้ำนๆ ปีจำกสัตว์เซลล์เดียวที่ไม่มีเซลล์ประสำท มีกำรพัฒนำเกิดอวัยวะและระบบ
                                                                                                                                      ต่ำงๆ ในสัตว์ชั้นสูง ขึ้นเป็นสำยพันธุ์ต่ำงๆ นับไม่ถ้วน กระบวนกำรพัฒนำที่ซับซ้อนนี้
                                                ในกะโหลกของมนุษย์บรรจุสมองหนักประมำณ 2 % เมื่อเทียบกับ                                                                                                            แปลเป็นค�าถามง่ายๆ

                                              น�้ำหนักร่ำงกำย ควำมเข้ำใจเรื่องสมองอย่ำงลึกซึ้งเกิดขึ้นเมื่อไม่กี่สิบปี                ได้รังสรรค์อวัยวะส่วน “สมอง” ขึ้นมำท�ำหน้ำที่เป็น“ศูนย์กลำงกำรสั่งงำนของทุกระบบ  ว่า “สมองมีไว้ท�าไม”
                                                                                                                                      ในร่ำงกำย” ระบบประสำทที่ประกอบไปด้วยเซลล์ประสำทในสมองเชื่อมกำรติดต่อ
              เยื่อไขมัน                      มำนี้ หลังมีเทคโนโลยีเครื่องสแกนสมอง (functional Magnetic                               ระหว่ำงเซลล์ประสำทที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกัน เพื่อน�ำข้อมูลที่เชื่อมโยงกันได้ไปท�ำงำนเป็น
             (Myelin)                         Resonance Imaging - fMRI) เดิมเรำเข้ำใจสมองตำมกำยวิภำคที่ผ่ำเอำ
                                              เนื้อสมองออกมำดู ท�ำให้เห็นสมองซีกซ้ำยซีกขวำและสมองส่วนต่ำงๆ                            ศูนย์บัญชำกำร จัดกำรให้สิ่งมีชีวิตด�ำรงชีวิตอยู่ได้ โดยควบคุมดูแลรำยละเอียดที่ซับซ้อน  หน้าที่หลักพื้นฐานของ

                                              กำรรักษำควำมเสียหำยในสมองของผู้ป่วยและกำรสังเกตที่พัฒนำมำ                               ของระบบร่ำงกำยทั้งหมด ควบคุมและประสำนกำรท�ำงำนของระบบต่ำงๆ ของร่ำงกำยให้ท�ำงำน  สมองคือ “เอาชีวิตนี้ให้รอด”
                                              อย่ำงยำวนำน ท�ำให้เรำรู้ว่ำสมองส่วนไหนท�ำหน้ำที่อะไร เช่น สมอง                          และตอบสนองสิ่งเร้ำจำกภำยนอกอย่ำงเหมำะสม เพื่อรักษำสมดุลต่ำงๆ ของร่ำงกำย

                                              ซีกซ้ำยท�ำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรคิดเชิงตรรกะ ฯลฯ สมองซีกขวำท�ำหน้ำที่                      ตอบสนองต่อควำมต้องกำรของร่ำงกำยเพื่อ “ให้อยู่รอด”
                                              ที่เกี่ยวกับจินตนำกำร ฯลฯ
                               เดนไดรท์                                                                                                 สมองจึงไม่ได้มีไว้เพื่อคิดเท่ำนั้น
                             (Dendrite)
                                                แต่ปัจจุบันควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีที่ลึกซึ้งขึ้นท�ำให้เรำรู้ว่ำ

                         ไซแนปส์              ในก้อนเนื้อสมองประกอบไปด้วยเซลล์ประสำท (neuron) ประมำณ                                    เมื่อมองดูสมองจำกกำยวิภำค เชื่อมโยงกับกำรจัดกำรศึกษำสมอง 2 ซีก ช่วยให้เรำเข้ำใจ
                       (Synapses)             100,000 ล้ำนเซลล์ ที่มีช่องว่ำงเล็กๆ ระหว่ำงเซลล์เรียกว่ำไซแนปส์                        ว่ำสมอง 2 ซีกของเรำท�ำงำนต่ำงกัน สมองซีกซ้ำยท�ำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรวิเครำะห์ กำร

                                              (synapse) เซลล์ประสำทที่มีอยู่จ�ำนวนมหำศำลรำวดวงดำวในจักรวำล                            แยกแยะ กำรจัดล�ำดับ รำยละเอียดเหตุผล กำรแสดงออกทำงภำษำ อักษร ตัวเลขและ
                                              ท�ำหน้ำที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสำรเคมีและสัญญำณไฟฟ้ำ เชื่อม                              จ�ำนวน สมองซีกขวำท�ำหน้ำที่เกี่ยวกับอำรมณ์ ควำมคิดสร้ำงสรรค์ จินตนำกำร ภำพรวม

                                              ไซแนปส์ของเซลล์ประสำทที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกัน ทุกครั้งที่มีสิ่งเร้ำ                     กำรเคลื่อนไหว และมิติสัมพันธ์แบบต่ำงๆ ควำมเข้ำใจดังกล่ำวท�ำให้มีกำรพัฒนำ
                                              มำกระตุ้น ใน 1 วินำที สำมำรถเชื่อมต่อกันได้สูงสุดถึง 700 เซลล์                          กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ brain based learning (BBL)

                                              กำรเชื่อมกันของไซแนปส์ท�ำให้เกิดเป็นเครือข่ำยของวงจรประสำท                                ปัจจุบันเมื่อเทคโนโลยีพัฒนำขึ้นไปอีก ควำมเข้ำใจกำรท�ำงำนของสมองก็ยิ่งกว้ำงขวำง
                                              ในสมอง เครือข่ำยใดที่ได้รับกำรกระตุ้นจะแข็งแรงและใหญ่โตขึ้น                             ลึกซึ้งลงไปอย่ำงไม่เคยมีมำก่อน มีกำรค้นพบว่ำสมองส่วนกลีบหน้ำผำกส่วนหน้ำเป็นส่วน

                                              เครือข่ำยใดที่ไม่ถูกกระตุ้นหรือไม่ได้ใช้จะหดตัวลงหรือตำยไป                              ที่ท�ำหน้ำที่เป็นผู้บริหำรสูงสุด (CEO) บัญชำกำร ก�ำกับควำมคิด อำรมณ์และพฤติกรรม
                                                                                                                                      เพื่อมุ่งสู่เป้ำหมำยทุกเป้ำหมำยในชีวิตทุกวัน โดยท�ำงำนประสำนกับสมองในพื้นที่อื่นๆ ทั้ง

                                                                                                                                      ซีกซ้ำย ขวำ หน้ำ หลัง อย่ำงซับซ้อน ในปัจจุบันวิทยำศำสตร์ก็ยังไม่ได้เข้ำใจกำรท�ำงำนนี้
                                                                                                                                      ครบถ้วนทั้งหมด แต่ได้เห็นแผนที่ใหญ่ๆ ที่ส�ำคัญของกลไกในสมองแล้ว





            24                                                                                                                                                                                                                    25
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29