Page 28 - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี
P. 28

Motor Cortices
                                                     เปลือกสมองส่วนควบคุม
                                                       การเคลื่อนไหว
                                                                             Parietal Cortices                                              2. เกิดอะไรในสมองของคนในช่วงวัยรุ่น
                                    Top-Down Attention                        เปลือกสมอง
                                    การมีความสนใจจดจ่อ                        ส่วน Parietal
                                                                                                                                            ตั้งแต่ปฏิสนธิออกมำเป็นทำรกจนถึงช่วงวัยรุ่น สมองมีกำรพัฒนำเปลี่ยนแปลง
                                                            Basal Ganglia
                                     Behavioral             เบซัล แกงเกลีย                                                                มำตลอด จำกกำรศึกษำระยะยำว (longitudinal study) กำรเปลี่ยนแปลงในสมอง
                                     Regulation
                                   การก�ากับพฤติกรรม                               Occipital Cortices                                     ของมนุษย์ตั้งแต่วัยเด็กเข้ำสู่วัยรุ่นจนกระทั่งเติบโตเป็นผู้ใหญ่ กำรท�ำ fMRI ถ่ำยภำพ
                                      ตนเอง                                          เปลือกสมอง
                                                                                    ส่วน Occipital
                                                                                                                                          สมองคนเดียวกันทุกช่วงเวลำตั้งแต่อำยุ 5-20 ปี พบว่ำ สมองใช้เวลำยำวนำน
                                                                Temporal Cortices                                                         ในกำรพัฒนำมำกกว่ำที่คิด และพบว่ำมีกำรเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญหลำยประกำร
                                                                  เปลือกสมอง
                                                                 ส่วน Temporal
                                                                                                                                          ในชีวิตช่วงวัยรุ่น
               สมองส่วนหน้าสุดท�ำงำนร่วมกับ                                     Cerebellum
                                                                                 สมองน้อย
               สมองหลำยส่วนทำงด้ำนหลัง
               ช่วยให้เรำมีสมำธิจดจ่อกับงำน                                                                                                  ในช่วงวัยรุ่น เปลือกสมองจะบำงลงเมื่อเทียบกับช่วงวัยเด็กแต่มีประสิทธิภำพ
               ที่ท�ำ ไม่วอกแวก (ลูกศรสีฟ้ำ)                                                                                              มำกขึ้น ในช่วงอำยุ 12-25 ปี สมองเกิดกำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงครั้งใหญ่ โดยที่
               ควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ ยั้งคิด
               ก่อนท�ำ ไม่หุนหันพลันแล่น (ลูก                                                                                             ขนำดสมองไม่ได้โตขึ้นมำก (ขนำดสมองโตถึง 90% ตั้งแต่อำยุ 6 ขวบ ขนำดศีรษะ
               ศรสีเขียว) (Amy F.T. Arnsten                                                                                               ที่ใหญ่ขึ้นเกิดจำกกะโหลกศีรษะหนำขึ้น) แต่เซลล์ประสำทและแขนงประสำท
               et al, 2009)
                                                                                                                                          เกิดกำรเชื่อมต่อผ่ำน synapse ในอัตรำที่เร็วมำก พร้อมกับกำรตัดแต่งกิ่งประสำท
                                                                                                                                          ที่ไม่ถูกใช้งำนออกไป ท�ำให้เปลือกสมองที่อยู่ชั้นนอกซึ่งเป็นบริเวณของสมองส่วน
                                            สมองกลีบหน้ำผำกส่วนหน้ำหรือ prefrontal cortex (ในที่นี้                                       หน้ำบำงลงแต่มีประสิทธิภำพมำกขึ้น ควำมแข็งแรงของเซลล์ประสำทโดยเฉพำะ
                                        เรำเรียกให้ง่ำยขึ้นว่ำสมองส่วนหน้ำ) มีควำมสำมำรถหรือมีทักษะที่                                    สมองส่วนหน้ำ ท�ำให้เด็กระดับประถมศึกษำสำมำรถคิดซับซ้อน เข้ำใจสิ่งที่เป็น

                                        นักวิทยำศำสตร์เรียกว่ำ EF (Executive Functions) ที่จะท�ำงำนสอด                                    นำมธรรม (abstract operation) เข้ำใจเรื่องพื้นที่ (space) และเวลำ (time) เช่น
                                        ประสำนกันอย่ำงสลับซับซ้อน ประสบกำรณ์หรือชุดข้อมูลที่สมองส่วนนี้                                   สำมำรถเข้ำใจได้ว่ำ กว่ำจะมำเป็นนมกล่องอยู่ตรงหน้ำให้ดื่ม มีคนและกระบวนกำร

                                        ได้รับและท�ำกำรตอบสนองออกไป จะก่อรูปเป็นบุคลิกภำพและนิสัยของ                                      จ�ำนวนมำกเข้ำมำเกี่ยวข้อง
                                        คนดังได้กล่ำวมำแล้ว

                                            หำกนิสัยฝังแน่นจำกประสบกำรณ์และกำรตอบสนองที่เข้มข้นจะ
                                        กลำยเป็นสิ่งที่คนไทยเรียกว่ำ “สันดำน” ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงได้ยำก

                                        หรืออำจเกือบไม่ได้เลยนั่นเอง











            28                                                                                                                                                                                                                    29
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33